Page 31 - The Sciece Lecture
P. 31

แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก






            เปนแบบจําลองที่นักวิทยาศาสตรคิดวาเปนไป

            ไดมากที่สุดทั้งนี้ไดจากการประมวลผลการ


            ทดลองและขอมูลตางๆ

            1.อิเล็กตรอนไมสามารถวิ่งรอบนิวเคลียสดวย


            รัศมีที่แนนอน บางครั้งเขาใกลบางครั้งออกหาง


            จึงไมสามารถบอกตําแหนงที่แนนอนได แตถา

            บอกไดแตเพียงที่พบอิเล็กตรอนตําแหนงตางๆ


            ภายในอะตอมและอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เร็ว


            มากจนเหมือนกับอิเล็กตรอนอยูทั่วไปใน

            อะตอมลักษณะนี้เรียกวา "กลุมหมอก"


            2.กลุมหมอกองอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
                                                                       แบบจําลองอะตอมแบบกลุมหมอก

            ตางๆจะมีรูปทรงตางกันขึ้นอยูกับจํานวน

            อิเล็กตรอน และระดับพลังงาน


            อิเล็กตรอน3.กลุมหมอกที่มีอิเล็กตรอนระดับ

            พลังงานตํ่าจะอยูใกลนิวเคลียสสวนอิเล็กตรอน


            ที่มีระดับพลังงานสูงจะอยูไกล


            นิวเคลียส4.อิเล็กตรอนแตละตัวไมไดอยูใน

            ระดับพลังงานใดพลังงานหนึ่งคงที่5.อะตอมม             ี


            อิเล็กตรอนหลายๆระดับพลังงาน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36