Page 27 - The Sciece Lecture
P. 27

คอลลอยด ( colloid )


                สารเนื้อเดียวที่เกิดจากการรวมตัวกันทางกายภาพของสารตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป  มีลักษณะ


                มัวหรือขุน  ไมตกตะกอน  ขนาดของอนุภาคมีเสนผาศุนยกลางประมาณ 10 - 7  ถึง

                 10 - 4  เซนติเมตร สามารถลอดผานกระดาษกรองได แตไมสารลอดผานกระดาษเซล

                                                             
                โลเฟนไดเมื่อผานลําแสงดเขาไปในคอลลอยด  จะเกิดการกระเจิงของแสง  ทําใหมอง
                เห็นลําแสงไดอยางชัดเจน  เรียกวาปรากฏการณทินดอลล ( Tyndall  Effect )





















                ประเภทของคอลลดอยด       

                -โซล (sol) เปนระบบคอลลอยดที่มีอนุภาคของแข็งกระจายในตัวกลางที่เปนของเหลว ระบบ

                คอลลอยดมีสถานะเปนของเหลว ตัวอยางเชน นํ้าสม นํ้าฝรั่ง นํ้ามันหอย ซอส ซุป

                -เจล (gel) เปนระบบคอลลอยดที่มีอนุภาคของแข็งกระจายในตัวกลางที่เปนของเหลว ระบบ

                คอลลอยดมีสถานะเปนของกึ่งแข็ง ตัวอยางเชน เยลลี่ วุน

                -อิมัลชัน (emulsion) เปนระบบคอลลอยดที่มีอนุภาคของเหลว กระจายตัวในตัวกลางที่เปน

                ของเหลว ซึ่งปกติของเหลวทั้งสองชนิดจะไมผสมกัน ไดแก นํ้า กับ นํ้ามัน   ตัวอยางเชน

                นํ้านม นํ้ากะทิ นํ้าสลัดครีม มายองเนส

                -โฟม (foam) เปนระบบคอลลอยดที่มีอนุภาคของกาซ กระจายตัวในตัวกลางที่เปนทั้ง

                ของแข็งและของเหลว

                -แอโรซอล (aerosol) เปนระบบไฮโดรคอลลอยดที่มีอนุภาคของแข็งหรือของเหลว กระจาย

                ตัวในตัวกลางที่เปนกาซ เชน ควัน ฝุนละอองในอากา
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32