Page 29 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 29

ค�าถามนี้... มีค�าตอบ



      Q  ต้นเหตุของฟันสึกคืออะไร  และมีวิธีป้องกันฟันสึกอย่างไรบ้าง           พญ.กฤชยา มาลา
                                                                              นายแพทย์ช�านาญการ
      A  สาเหตุของฟันสึก                                                      ศูนย์บริการสาธารณสุข ๕๙ ทุ่งครุ
                                                                              ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
             1.  ใช้ฟันกัดสิ่งของและหรือกัดอาหารที่แข็ง  หรือคนที่ชอบ
         นอนกัดฟันแบบรุนแรงเป็นประจ�า                          2.  หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรือยาบางชนิด
                                                               3.  ลดน�้าหนัก
             2.  รับประทานอาหารหรือขนมที่มีฤทธิ์เป็นกรดหรือรสเปรี้ยว
         น�้าอัดลม                                             4.  ออกก�าลังกายสม�่าเสมอ
                                                               5.  ถ้ามีอาการมากหรือแก้ไขแล้วไม่ทุเลา  ควรไปพบแพทย์
             3.  การแปรงฟันที่ไม่ถูกวิธี  ควรฝึกแปรงฟันขึ้นลงอย่างถูกวิธี
             การสึกของฟันต�าแหน่งที่พบบ่อย ได้แก่         เพื่อหาสาเหตุและรักษาต่อไป
             1.  ด้านบดเคี้ยวมักพบบริเวณฟันกราม       Q   โปรตีนจากนมเป็นโปรตีนที่ย่อยและดูดซึมง่าย  แต่ท�าไมบางคน
             2.  ด้านแก้มมักพบบริเวณคอฟัน                 รับประทานแล้วมีอาการไม่สบายท้อง/ท้องเสีย
             โดยการสึกของฟันจะเริ่มบริเวณผิวเคลือบฟัน  ถ้าเริ่มสึกถึง
                                                      A ส�าหรับเหตุผลที่ดื่มนมแล้วมีอาการท้องเสียนั้นเป็นเพราะในร่างกาย
         ชั้นของเนื้อฟันจะเริ่มมีอาการเสียวฟัน  ถ้าสึกลึกถึงโพรงประสาทฟัน
         จะมีอาการปวดฟัน                                  คนไทย  จะผลิตน�้าย่อยแลคโตส  ซึ่งเป็นกลุ่มน�้าตาลที่พบในน�้านมสัตว์
             วิธีป้องกัน                                  ทุกชนิดได้ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 4-5 ปี เท่านั้น ดังนั้นเมื่อผ่านพ้น
             พยามหลีกเลี่ยงการขบกัดสิ่งของที่มีลักษณะแข็งเพื่อลด   วัยเด็กไปแล้ว น�้าย่อยตัวนี้ จะลดน้อยลงจนหมดไป จึงไม่สามารถ
         การสึกของฟัน และฝึกแปรงฟันให้ถูกวิธี โดยการแปรงขึ้นลง โดย  ย่อยน�้าตาลแลคโตสได้  พอเราดื่มนมน�้าตาลในนมจะผ่านไปสู่ล�าไส้ใหญ่
         ขยับแปรงขัดลงซี่ละ 8-10 ครั้ง หลีกเลี่ยงการแปรงฟันแบบขวาง  และถูกย่อยโดยจุลินทรีย์  เกิดเป็นกรดและแก๊ส  ท�าให้เกิดอาการ
         ตัวฟัน หลังการกินอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรด หรือของเปรี้ยว ควรบ้วนปาก   ท้องเสียได้ เพราะไม่มีน�้าย่อยมาย่อยแล็คโตสอีกแล้ว หรือบางคน
         ด้วยน�้าเปล่าทันที และยังไม่ควรรีบแปรงฟันทันที เพราะจะท�าให้  อาจเกิดอาการท้องอืด จุดเสียด แน่นหน้าอก เรอและผายลมบ่อยๆ
         เกิดฟันสึกได้ กรณีเกิดการเสียวฟัน แสดงให้เห็นว่าฟันสึกแล้ว   แต่คนที่ดื่มนมมาอย่างต่อเนื่องแบคทีเรียในล�าไส้จะสามารถสร้าง
         ควรพบทันตแพทย์  ควรตรวจฟันเป็นประจ�าทุก 6 เดือนถึง 1 ปี   น�้าย่อยน�้าตาลแลคโตสขึ้นมาได้เอง  จึงท�าให้หลายคนไม่มีอาการ
                                                          ท้องเสีย เมื่อดื่มนม
      Q  มีปัญหาการนอนกรน  ตื่นมาอ่อนเพลียมาก  จะป้องกัน หรือรักษา

         ได้อย่างไร                                   Q นมแคลเซี่ยมสูงกับนมถั่วเหลืองไม่ทราบว่าอย่างไหน
                                                          จะมีประโยชน์ต่อผู้สูงอายุมากกว่ากัน
      A  เสียงกรนเกิดจากอากาศเคลื่อนผ่านทางเดินหายใจที่แคบ  ซึ่งมักเกิด

         จากการหย่อนตัวของกล้ามเนื้อทางเดินหายใจส่วนบนขณะ   A ในวัยผู้สูงอายุกระดูกเริ่มอ่อนแอ และมีภาวะกระดูกพรุน โดยเฉพาะ
         นอนหลับ ท�าให้เกิดการสั่นสะเทือนและสะบัดของกล้ามเนื้อและ  ในเพศหญิงเริ่มแรกจะรู้สึกเพียงปวดเมื่อยจนเมื่อกระดูกพรุนหรือ
         เนื้อเยื่ออ่อนในบริเวณนั้น เกิดเป็นเสียงกรนขึ้น  บางมากจะเริ่มปวดกระดูก โดยเฉพาะบริเวณหลังหรือสะโพก
             อาการนอนกรนจึงไม่ใช่เรื่องปรกติแต่กลับบ่งบอกถึง   สาเหตุหลักเกิดจากการดูดซึมแคลเซี่ยมลดลงของผู้สูงอายุ
         การมีสิ่งอุดกั้นในทางเดินหายใจส่วนบน  การหยุดหายใจขณะหลับ   จากระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนในเพศหญิงที่ลดลงเมื่อถึงวัย
         เป็นภาวะที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจมาก  การนอนกรนส่งผล  หมดประจ�าเดือน และการได้รับแคลเซี่ยมในอาหารที่น้อย ในแต่ละวัน
         ท�าให้ง่วงมากผิดปกติในเวลากลางวัน  ท�าให้เรียนหรือท�างานได้   ร่างกายต้องได้รับแคลเชี่ยมในปริมาณที่เพียงพอกระดูกจึงจะ
         ไม่เต็มที่ และเพิ่มการเกิดโรคต่างๆ เช่น ความดันโลหิตสูง   แข็งแกร่ง  โดยผู้หญิงวัยหมดประจ�าเดือนต้องการแคลเชี่ยม วันละ
         ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดสมอง โรคกล้ามเนื้อหัวใจ  ประมาณ 1,000 มิลลิกรัม ในผู้ชายและผู้หญิงสูงอายุต้องการวันละ
         ตายเฉียบพลัน ภาวะนอนกรนพบมากในผู้ใหญ่ที่อ้วนผนังคอหนา   ประมาณ 1,000-1,200 มิลลิกรัม
         ในช่วงอายุประมาณ 30-35 ปี พบในเพศหญิงประมาณร้อยละ 20      การแก้ไขปัญหากระดูกพรุนอย่างหนึ่งคือ  การรับประทานอาหาร
         เพศชายร้อยละ 5 หญิงที่มีรอบคอเกิน 15 นิ้ว ชายที่มีรอบคอใหญ่  ที่มีแคลเชี่ยมหรือดื่มนมที่มีแคลเซี่ยมสูง ผู้สูงอายุควรดื่มนมวันละ 1 แก้ว
         กว่า 17 นิ้ว มีความเสี่ยงที่จะเกิดการนอนกรน      (ควรเป็นนมพร่องมันเนย) ผู้สูงอายุบางท่านที่ดื่มนมไม่ได้ควรดื่ม
             การแก้ไข                                     นมถั่วเหลืองแทน เนื่องจากได้โปรตีนจากถั่ว แต่จะต้องกินไปควบคู่
             1.  นอนตะแคงหรือนอนหัวสูง                    กับอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูงเช่นปลาเล็กปลาน้อย


                                                                                      วารสารสุขภาพ    29
                                                                                        ส�านักอนามัย
   24   25   26   27   28   29   30   31   32