Page 25 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 25

ขั้นตอนการเตรียมตัวสัตว์เลี้ยงก่อนน�าไปท�าหมัน

                  เนื่องการท�าหมันสัตว์ ต้องผ่านขั้นตอนการวางยาสลบสัตว์ก่อนแล้วจึงจะผ่าตัด มีความจ�าเป็นอย่างยิ่ง
           ต้องให้สัตว์ได้รับการตรวจสุขภาพและประเมินสภาพร่างกายจากสัตวแพทย์ก่อนทุกครั้ง และชั่งน�้าหนักตัว และ
           ตรวจค่าความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด ตรวจค่าการท�างานของตับ ตรวจค่าการท�างานของไต ฯลฯ เพื่อจะวางแผน

           การด�าเนินการผ่าตัดให้เหมาะสมและมีความปลอดภัยต่อตัวสัตว์ ก่อนที่จะน�าไปผ่าตัด เจ้าของสัตว์ควรท�า
           ความสะอาดตัวสุนัขและแมวให้เรียบร้อย และงดน�้าและอาหารทุกชนิดหลังเที่ยงคืนก่อนวันที่ผ่าตัดหรืออย่างน้อย
           6 - 12 ชั่วโมงก่อนผ่าตัด หากเจ้าของไม่ได้ท�าการงดน�้าและอาหารมาล่วงหน้าต้องแจ้งสัตวแพทย์ทราบ เพราะสัตว์
           อาจเกิดส�าลักเศษอาหารอุดตันทางเดินหายใจ ซึ่งเป็นอันตรายให้สัตว์เสียชีวิตได้ และเจ้าของต้องเช็นใบยินยอม

           การผ่าตัดและอนุญาตวางยาสลบ เพราะการวางยาสลบเพื่อผ่าตัดมีความเสี่ยง ดังนั้นเจ้าของสัตว์ควรสอบถามข้อมูล
           การผ่าตัด วิธีการผ่าตัด วิธีการวางยาสลบ ผลข้างเคียงจากการวางยาและการผ่าตัด ข้อพึงระวังและภาวะแทรกซ้อน
           จากการผ่าตัด และวิธีการดูแลหลังการผ่าตัดตามค�าแนะน�าสัตวแพทย์อย่างเคร่งครัด

           ข้อดีในการท�าหมันสุนัข-แมวเพศผู้
           (castration, orchidectomy)

                  ช่วยควบคุมการเพิ่มประชากรสุนัข-แมว  และยังช่วย

           ลดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์บางอย่าง เช่น ลดการหนีเที่ยว
           นอกบ้านไปหาผสมพันธุ์  หรือลดการถูกกัดเป็นแผลติดเชื้อ
           ลดอาการดุร้ายและก้าวร้าวลง และมีพฤติกรรมการปัสสาวะเรี่ยราดในการพื้นที่อาณาเขตลดลง นอกจากนี้ยังเป็น
           วิธีที่ใช้ป้องกันและรักษาโรคบางอย่างได้ เช่น โรคมะเร็งและเนื้องอกในอัณฑะ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก

           ข้อดีในการท�าหมันสุนัข-แมวเพศเมีย (ovariohysterectomy)

                  การท�าหมันโดยวิธีการตัดรังไข่และมดลูก เพื่อเป็นการป้องกันการเป็นสัด และป้องกันการตั้งท้อง รวมถึง

           ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะมดลูกอักเสบและเป็นหนองได้ (pyometra)
           การดูแลหลังผ่าตัดท�าหมัน


                  1.  ดูแลความสะอาดของแผล และอาจสวมเสื้อ หรือ
                    ใส่ปลอกคอกันเลีย เพื่อป้องกันสัตว์กัดหรือเลียแผล
                  2.  แต้มยาที่แผลเป็นประจ�าทุกวันด้วยโปรวิโดน-ไอโอดีน
                    10% (เบตาดีน) แล้วปิดแผลด้วยผ้าก๊อซด้วย

                  3.  หมั่นสังเกตแผลเป็นประจ�า แผลที่ดีต้องไม่มีรอยช�้า ไม่มีเลือดหรือหนองซึมออกมาจากบาดแผล
                  4.  ป้อนยาตามค�าแนะน�าของสัตวแพทย์โดยเคร่งครัด และตัดไหมหลังจากผ่าตัดแล้ว 7-10 วัน
           ฉีดยาคุมก�าเนิดแทนได้ไหม เพราะไม่อยากให้สุนัข-แมว เจ็บ


                  ปัจจุบันการฉีดยาคุมก�าเนิดในสัตว์เลี้ยงไม่เป็นที่นิยม เป็นวิธีคุมก�าเนิดชั่วคราว มีผลเสียมากกว่าผลดี
           เนื่องจากยาคุมก�าเนิดที่ใช้เป็นฮอร์โมน เพียงแค่ยืดระยะเวลาไม่ให้กลับมาเป็นสัด แต่ผลเสียที่ตามมาคือ ปัญหา
           เนื้องอกที่เต้านม หรืออาจเกิดถุงน�้าบนผนังมดลูกและมดลูกอักเสบเป็นหนอง ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้

                  ความจริงเหล่านี้ อาจช่วยท�าให้เจ้าของสัตว์มีความเข้าใจที่ดีขึ้น และมีส่วนร่วมในการควบคุมจ�านวนประชากร

           สุนัข-แมว และลดปัญหาการทอดทิ้งสุนัขในอนาคตต่อไปครับ

                                                                                      วารสารสุขภาพ    25
                                                                                        ส�านักอนามัย
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30