Page 20 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 20

พบแพทย์ สนอ.



          โรคไตเรื้อรัง
          โรคไตเรื้อรัง (CKD)(CKD)



              โรคใกล้ตัวที่พึงระวัง







                                                                            พญ.สุธี สฤษฎิ์ศิริ
                                                                            นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน)
                                                                            ผู้อ�านวยการศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวัฒนา
                                                                            ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร

                                                        เพื่อขับเกลือออกทางปัสสาวะ  ถ้าไตเสียหน้าที่จะเกิด
           โรค CKD คืออะไร                              การบวมบริเวณใบหน้า  มือ  และเท้า  ถ้าโพแทสเซียมเกิน


                คือ โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease,   หัวใจอาจเต้นผิดปกติจนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นและ
           CKD) เป็นโรคเรื้อรังที่พบบ่อย รักษาไม่หายขาดต้องรักษา   เสียชีวิตได้ ไตยังสร้างฮอร์โมน เช่น เรนิน (Renin)
           อย่างต่อเนื่อง และเสียค่าใช้จ่ายสูง หากเป็นไตวาย  ควบคุมความดันโลหิต ดูดซึมของเกลือแร่, อิริโทรพอยอีติน

           ระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease, ESRD)   (Erythropoietin) กระตุ้นให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดแดง,
           ต้องให้การรักษาโดยฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม   วิตามินดี  ควบคุมการดูดซึมแคลเซียมจากอาหาร  และ
           (Hemodialysis) ล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal Dialysis)   เสริมสร้างกระดูก
           หรือผ่าตัดปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation) ดังนั้น

           ควรป้องกันโดยการตรวจคัดกรองและพบแพทย์รักษา
           ตั้งแต่ระยะแรกเพื่อชะลอการเสื่อมของไต



           ไต มีหน้าที่อะไร


                ไตมีลักษณะคล้ายถั่วอยู่บริเวณเอวทั้ง 2 ข้าง ขนาด
           ประมาณก�าปั้นมือ ไตรับเลือดผ่านทางหลอดเลือดแดงใหญ่   สามารถตรวจคัดกรองโรคไตได้
           ที่ออกจากหัวใจ เมื่อเลือดผ่านไตจะถูกกรองของเสีย   อย่างไร
           ขับออกเป็นปัสสาวะ  ไตช่วยปรับสมดุลเกลือแร่และ

           กรดด่าง เช่น เมื่อทานเค็มจะรู้สึกกระหายน�้า ดื่มน�้าเพิ่ม      ควรหมั่นสังเกตอาการและหมั่นตรวจเลือด
                                                        ดูการท�างานของไตและตรวจปัสสาวะ โดยเฉพาะในกลุ่ม
                                                        ที่มีความเสี่ยง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
                                                        ประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคไตเรื้อรัง อายุมาก น�้าหนักเกิน
                                                        หรืออ้วน สูบบุหรี่ วัดความดันโลหิต ตรวจหาโปรตีนใน

                                                        ปัสสาวะ เมื่อไตไม่สามารถท�างานได้ตามปกติ โปรตีนจะรั่ว
                                                        ออกมากับปัสสาวะ ตรวจเลือดหาค่าครีเอตินิน (creatinine)
                                                        ซึ่งเป็นของเสียที่มาจากการท�างานของกล้ามเนื้อ


      20   วารสารสุขภาพ
           ส�านักอนามัย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25