Page 18 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 18

กินเป็น เน้นสุขภาพ




           แม่จ๋า...อย่า
           แม่จ๋า...อย่า
           แม่จ๋า...อย่า “ซีด” นะ “ซีด” นะ “ซีด” นะ
                                                                                  วิลาวัณย์ เยี่ยมยืนยง
                                                                                  นักโภชนาการช�านาญการ
                                                                                  กองสร้างเสริมสุขภาพ
                                                                                  ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร

                  ข้อความดังกล่าวเปรียบเสมือนค�าขอร้องของ

           ลูกที่อยู่ในครรภ์มารดาว่าอยากให้คุณแม่ดูแลสุขภาพ
           ร่างกายให้ดีอย่าให้เกิด  “ภาวะซีด”  หรือ  “โลหิตจาง”
           ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อลูกในครรภ์และมารดาได้

                  ภาวะซีด หรือ โลหิตจาง คือ ภาวะที่ร่างกาย
           มีจ�านวนเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ  โดยมีสาเหตุต่างๆ

           มากมาย  ซึ่งสาเหตุหนึ่งเกิดจากการขาดสารอาหาร
           ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเม็ดเลือดแดง  เช่น  ธาตุเหล็ก
           กรดโฟลิก และวิตามินบี 12 เป็นต้น คนที่ซีดจากการขาด   ลิ้น เลือด อาหารทะเล นม ไข่ ผักใบเขียว และ ธัญพืช
           สารอาหารอาจเกิดจากการขาดสารอาหารตัวใดตัวหนึ่ง   เช่น ถั่ว งา เมล็ดฟักทอง ลูกเดือย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

           หรือหลายตัวพร้อมกันก็ได้  แต่คนส่วนมากรวมทั้ง   ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์และทารกควรกินอาหารเหล่านี้ให้มาก
           หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางมักจะเกิดจากการขาด  หรือให้กินยาบ�ารุงโลหิตเสริม อาหารที่มีวิตามินซีช่วยให้
           ธาตุเหล็ก                                    ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กและกรดโฟลิก กินอาหารที่อุดม
                                                        ไปด้วยวิตามินบี  12  เพื่อให้ไขกระดูกสามารถผลิต
                                                        เม็ดเลือดแดงได้เพียงพอ  หลีกเลี่ยง  ดื่มชา  กาแฟ
           มีอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกอย่างไร      เพราะมีแทนนินซึ่งจะขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก

                  หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจะมีโอกาส  รวมทั้งอาหารที่มีแคลเซี่ยมสูง  เช่น  นม  หลีกเลี่ยง

           ตกเลือดและเสียชีวิตในระหว่างคลอดได้  รวมทั้งอาจเกิด  ผักโขม  หัวผักกาดหรือบีรูต  น�้าเต้า  ชะพลู  เมี่ยง
           การแท้งหรือคลอดก่อนก�าหนดหรือทารกมีน�้าหนัก  มีสารไฟแตดต่อต้านการดูดซึมของธาตุเหล็ก ส่วนธาตุเหล็ก
           แรกคลอดน้อยและที่ส�าคัญมีผลต่อระดับสติปัญญาของ ที่อยู่ในเนื้อสัตว์  เครื่องในสัตว์  และอาหารทะเล
           เด็กจะด้อยลงอย่างถาวร ถึงแม้ภายหลังจะได้รับ  อาหารกลุ่มนี้จะมีธาตุเหล็กสูง และดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด

           ยาธาตุเหล็กก็ไม่สามารถฟื้นฟูระดับสติปัญญาส่วนที่  ได้ดีที่สุด จะสังเกตได้จากเนื้อที่มีสีแดงยิ่งเข้มขึ้นแสดงว่า
           สูญเสียไปได้แม้จะแก้ไขภาวะโลหิตจางได้แล้วก็ตาม  มีธาตุเหล็กสูง เมื่อรับประทานร่วมกับอาหารที่มีวิตามินซีสูง
                                                        เช่น บรอคโคลี พริก มะเขือเทศ ฝรั่ง ส้ม จะยิ่งช่วย

           จะป้องกันไม่ให้เกิดภาวะซีดหรือโลหิตจางได้    ในการดูดซึมธาตุเหล็กได้มากขึ้น ธาตุเหล็กชนิดที่มีอยู่
           อย่างไร                                      ในไข่และพืช ผักใบเขียวต่างๆ รวมไปถึงถั่วเมล็ดแห้ง
                                                        อาหารพวกนี้มีธาตุเหล็กสูง แต่ธาตุเหล็กในกลุ่มนี้จะดูดซึม
                  หากเกิดจากการขาดสารอาหารสามารถ        เข้าร่างกายได้ไม่ดีนัก จึงควรรับประทานร่วมกับอาหาร

           ป้องกันได้ด้วยการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กมาก ได้แก่    ที่มีวิตามินซีสูงในมื้อเดียวกัน เพื่อช่วยในการดูดซึม
           เนื้อสัตว์  เครื่องในสัตว์  เช่น  ตับ  ไต  หัวใจ  ม้าม   ธาตุเหล็กได้ดียิ่งขึ้น



      18   วารสารสุขภาพ
           ส�านักอนามัย
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23