Page 17 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 17

อาการผิดปกติ

           ซึ่งเกิดจากพยาธิอะนิซาคิส

                  เนื่องจากพยาธิชนิดนี้ขณะเป็นตัวอ่อน

           ระยะติดต่อสู่คนบริเวณปากของพยาธิจะมีหนาม
           ขนาดเล็กขณะเคลื่อนที่จะไชในกระเพาะอาหารและ
           ล�าไส้ของคน  ท�าให้เกิดแผลขนาดเล็กและอาจท�าให้มี
           เลือดออกในกระเพาะอาหารได้  ส่งผลให้ผู้ที่มีพยาธิชนิดนี้

           ในกระเพาะอาหารและล�าไส้ มีอาการปวดท้อง แน่นท้อง
           คลื่นไส้  ท้องอืด  อาการมักไม่เฉพาะเจาะจงคล้ายกับ
           อาการของโรคกระเพาะบางรายอาจท้องเสียหรือ
           ถ่ายอุจจาระเป็นเลือดถ้ามีแผลในกระเพาะขนาดใหญ่   ป้องกันอย่างไร ให้ปลอดภัยจากพยาธิ

           อาการมักจะเริ่มเกิดขึ้นหลังรับประทานอาหารที่มีพยาธิ  เมื่อต้องรับประทานปลาดิบ
           ชนิดนี้เป็นชั่วโมงหรืออาจเป็นวันก็ได้  และถ้าหากพยาธิ     บุคคลที่มีภูมิคุ้มกันต�่า ได้แก่ สตรีมีครรภ์
           ชนิดนี้ฝังตัวอยู่ในทางเดินอาหารนานๆ  จะท�าให้เกิด  คนชรา คนป่วยเรื้อรัง เช่น โรคมะเร็ง ไม่ควรรับประทาน
           ลักษณะของก้อนทูมขึ้นในทางเดินอาหารได้ ซึ่งเกิดจาก  ปลาดิบ ส่วนบุคคลอื่นๆ ควรรับประทานเป็นซูชิ/ซาซิมิเกรด

           ปฏิกิริยาของร่างกายต่อพยาธิ                  (Sashimi/Sushi grade) จากร้านที่มีชื่อเสียงน่าเชื่อถือ

                                                        และเลือกร้านที่มีสุขลักษณะที่ดี ดังนี้

                                                               1.  สุขลักษณะของสถานที่จ�าหน่าย โดยสังเกต
                                                        จาก  พื้น  ผนัง  เพดาน  สะอาด  ภาชนะอุปกรณ์  เช่น
                                                        ตู้แช่อาหารสะอาด เป็นตู้แช่เย็นที่สะอาดสามารถรักษา
                                                        ความเย็นให้อุณหภูมิเนื้อปลาไม่เกิน  5  องศาเซลเซียส

                                                        มีอุปกรณ์ส�าหรับหยิบจับอาหารที่สะอาด

                                                               2.  ซูชิ/ซาซิมิต้องวางให้บริการหรือ
                                                        วางจ�าหน่ายในตู้เก็บรักษาอุณหภูมิ ข้าวส�าหรับท�าซูชิ
                                                        ต้องนุ่มและมีสีขาว ปลาต้องสะอาด มีสีใส สดใหม่ และ
                                                        อาหารพร้อมบริโภคที่อยู่ในภาชนะบรรจุต้องระบุ

                                                        วันหมดอายุ




           รายการอ้างอิง
                  1. จตุรงค์  ประเทืองเดชกุล และสุเมธ  จงรุจิโรจน์ 2554. ปลาดิบไม่มีพยาธิจริงเหรอ [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://www.pharmacy.
           mahidol.ac.th/th/knowledge/article. [วันที่เข้าถึง 1 มี.ค. 2560]
                  2. พัชรพร  เตชะสินธุ์ธนา 2553. สิ่งที่มากับปลาดิบ [ออนไลน์] สืบค้นจาก http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/
           articledetail.asp?id=437. [วันที่เข้าถึง 1 มี.ค. 2560]




                                                                                      วารสารสุขภาพ    17
                                                                                        ส�านักอนามัย
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22