Page 24 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
P. 24
ถอดรหัส สัตว์เลี้ยง
คุมก�ำเนิดสัตว์เลี้ยง
คุมก�ำเนิดสัตว์เลี้ยง
กันดีไหม น.สพ.ภัทรพงศ์ จันทร์เจริญ
กันดีไหม
นายสัตวแพทย์ช�านาญการ
ส�านักงานสัตวแพทย์สาธารณสุข
ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
เจ้าของสัตว์เลี้ยงอาจไม่อยากท�าหมันสัตว์เลี้ยง
ด้วยเหตุผลต่างๆ เช่น การท�าหมันแล้วท�าให้อ้วน เป็นการ
ทรมานสัตว์หรือเป็นบาป ปล่อยให้เป็นสัดก่อน แล้วค่อย
ท�าหมัน ท�าหมันแต่เพศเมีย แต่ตัวผู้ไม่ต้องท�าเพราะไม่ได้ตั้งท้อง
เลี้ยงตัวเดียวในบ้านไม่ต้องไปท�าหมัน วันนี้จึงมีข้อแนะน�า
เพื่อให้เกิดความเข้าใจเรื่องการท�าหมันในสัตว์เลี้ยง
อย่างละเอียดเลยครับ
การท�าหมันหรือการตอนเป็นวิธีการคุมก�าเนิด ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการท�าหมัน
ที่ดีที่สุดในสัตว์เลี้ยง โดยมีหลักการก�าจัดต่อมเพศ (อัณฑะ อายุที่เหมาะสมของการท�าหมันในสุนัขและ
หรือรังไข่และมดลูก) ออกไป ท�าให้สัตว์หมดความสามารถ แมว คืออายุตั้งแต่ 5 - 6 เดือนขึ้นไป อายุมากกว่านี้
ในการสืบพันธุ์ ปัจจุบันวิธีที่สัตวแพทย์นิยมใช้คือ การผ่าตัด ก็ท�าได้ขึ้นอยู่กับสุขภาพของสัตว์ แต่จากการศึกษาพบว่า
ท�าหมัน เพราะเป็นการท�าหมันที่ถาวร มีความปลอดภัย การท�าหมันก่อนที่สุนัขเพศเมียจะเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์
และก่อปัญหาที่ตามมาในระยะยาวค่อนข้างน้อย หรือเข้าสู่วงรอบการเป็นสัดครั้งแรก จะช่วยลดอัตรา
นอกจากนี้ยังสามารถช่วยลดการเพิ่มจ�านวนประชากร ความเสี่ยงที่จะท�าให้เกิดโรคระบบสืบพันธุ์ เช่น การเกิด
สุนัขและลดปัญหาสุนัขจรจัดลงแล้ว ยังเป็นการส่งเสริม เนื้องอกที่เต้านมในสัตว์เพศเมีย การเกิดปัญหาของ
ให้สัตว์เลี้ยงมีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็นโรค ต่อมลูกหมากในของสุนัขเพศผู้ เป็นต้น
ที่เกิดจากฮอร์โมนเพศ และโรคที่ติดต่อทางการผสมพันธุ์
และที่ส�าคัญการท�าหมัน จะช่วยลดความเสี่ยงของโรค
เกี่ยวกับระบบสืบพันธุ์ได้
24 วารสารสุขภาพ
ส�านักอนามัย