Page 4 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 4

การพัฒนาระบบขนส่งมวลชนทั้งระบบหลัก  ระบบรอง  และทางเลือก  การพัฒนาปรับปรุงป้ายอัจฉริยะ  การน�า

           ระบบสารสนเทศมาใช้จัดการจราจร ตลอดจนการจัดระเบียบทางเท้าและสาธารณูปโภค
                  3. ปลอดภัย (COMMUNITY) โดยปรับสภาพแวดล้อม ก�าจัดจุดเสี่ยง ติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV)
           เพิ่ม Public eyes (สายตาประชาชน) เพื่อช่วยกันสอดส่องดูแล และ Private security หรือการป้องกันภัยภาคเอกชน
                  4. คุณภาพชีวิตดี (CARE) โดยการพัฒนาโรงเรียนกทม. โรงเรียนฝึกอาชีพ หอสมุดเมือง ห้องสมุดชุมชน

           การท่องเที่ยวการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกทม. เพิ่มขีดความสามารถการให้บริการทางการแพทย์ เฝ้าระวังด้านสาธารณสุข
           ตลอดจนเตรียมพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย
                  5. วิถีพอเพียง (COMMON WAYS OF LIVING) เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนเรียนรู้แนวพระราชด�าริ
           หลักการทรงงาน ตลอดจนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ จัดระเบียบเมืองด้วยการจัดการจราจร จัดจ�าหน่าย

           สินค้า และ Street Food เพื่อเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนบนวิถีพอเพียง
           กรุงเทพมหานคร มีแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพคนกรุงเทพฯ อย่างไร


                  กรุงเทพมหานคร มีหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพ

           ได้แก่ ส�านักอนามัยและส�านักการแพทย์ ในส่วนของส�านักอนามัย
           ประกอบด้วยหน่วยงานระดับส�านักงาน และกอง รวม 13 แห่ง
           ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุข
           สาขา 76 แห่ง ในการร่วมกันบูรณาการ การด�าเนินโครงการ
           และกิจกรรมด้านสาธารณสุข โดยทีมสหวิชาชีพทั้งเชิงรับ และ

           เชิงรุกอย่างต่อเนื่องครอบคลุม 4 มิติ ได้แก่ ส่งเสริมสุขภาพ
           ควบคุมป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพประชาชน
           ในกรุงเทพมหานคร  ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายการบริหาร
           ราชการกรุงเทพมหานคร ภายใต้แนวคิด “ผลักดันทันใจ

           แก้ไขทันที” ดังนี้

                  1. ด�าเนินงานโครงการพัฒนาการสุขาภิบาล
           สิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร Bangkok Clean and Green
           โดยจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนามาตรฐานความสะอาดและ

           สิ่งแวดล้อมในอาคารสาธารณะ  และกิจกรรมพัฒนาสุขลักษณะ
           ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร นับเป็นการส่งเสริม
           การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัยของ
           สถานประกอบกิจการ และการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
           ของอาคารที่พักอาศัย  ให้มีสภาวะสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี

           นอกจากนี้ยังรวมพลังชาวกรุงเทพฯ จัดกิจกรรม Big Cleaning
           Day เมืองกรุงเทพฯ สะอาด โดยทั้งผู้ประกอบการ เจ้าของบ้าน
           ร้านค้า  และจิตอาสาร่วมกันท�าความสะอาด  ย่านชุมชน

           ย่านการค้า  คู  คลอง  ทั่วกรุงเทพฯ  อย่างน้อย  เดือนละ
           1 ครั้ง


       4   วารสารสุขภาพ
           ส�านักอนามัย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9