Page 6 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 6
ห่วงใยแม่ ดูแลลูก
หญิงตั้งครรภ์ พึงระวัง!!!
หญิงตั้งครรภ์ พึงระวัง!!!
หญิงตั้งครรภ์ พึงระวัง!!!
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus disease)ำ (Zika virus disease)ำ (Zika virus disease)
โรคติดเชื้อไวรัสซิก
โรคติดเชื้อไวรัสซิก
มยุรา สร้อยชื่อ
นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
ส�านักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
โรคติดเชื้อไวรัสซิกา...ภัยเงียบจากยุงลาย
หากกล่าวถึงภัยจากยุงลายที่เรารู้จักกันดีนอกจากโรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (Chikungunya)
และไข้เหลืองแล้ว ยังมีอีกโรคหนึ่ง คือ “โรคติดเชื้อไวรัสซิกา” ที่มีการแพร่ระบาดอย่างมาก จนองค์การอนามัยโลก
(WHO) ประกาศให้การระบาดของไวรัสซิกาเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์
2559 แม้ว่าพบอัตราการเสียชีวิตจากไวรัสซิกาน้อย แต่ก็ต้องเฝ้าระวังโรค เพราะโรคนี้สามารถแพร่เชื้อ
ได้โดยยุงลายที่มีเชื้อไวรัสซิกาและไปกัดคน ระยะฟักตัวของโรคประมาณ 3 - 12 วัน
เหตุผลใด ?..... และท�ำไม ?..... 2. ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรค เป็นเพียงการรักษา
หญิงตั้งครรภ์ต้องใส่ใจ ตามอาการที่พบ โดยหญิงตั้งครรภ์ควรได้รับการดูแล
ตรวจครรภ์อย่างต่อเนื่อง และปฏิบัติตามค�าแนะน�า
“โรคติดเชื้อไวรัสซิกำ” ของแพทย์
3. หากมีความจ�าเป็นต้องไปต่างประเทศหรือ
1. หญิงตั้งครรภ์มีความเสี่ยงติดเชื้อไวรัสซิกา ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคเชื้อไวรัสซิกาให้หลีกเลี่ยง
เช่นเดียวกับคนทั่วไป ซึ่งมีเพียง 1 ใน 4 คนที่ติดเชื้อเท่านั้น การถูกยุงกัดเพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสซิกา รวมทั้ง
ที่แสดงอาการ แต่ไม่รุนแรง อาการจะเกิดหลังจาก ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเดินทาง และแจ้งให้แพทย์ทราบ
การถูกยุงที่มีเชื้อกัด 2 - 7 วัน โดยพบว่าโรคเชื้อไวรัสซิกา เมื่อไปตรวจครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่ก�าเนิด
ของทารกในครรภ์ โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรกของ
การตั้งครรภ์ ซึ่งก�าลังยังอยู่ในช่วงการศึกษาวิจัยถึง
ความเป็นไปได้ของการถ่ายทอดเชื้อไวรัสจากแม่สู่ลูก
และผลกระทบต่อทารก ดังนั้นหญิงตั้งครรภ์และ
หญิงในวัยเจริญพันธ์ุควรหลีกเลี่ยงการถูกยุงกัด
โดยหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสซิกาควรได้รับการติดตาม
และดูแลสุขภาพอย่างใกล้ชิด
การติดเชื้อในหญิงตั้งครรภ์....อาจท�าเกิดภาวะศรีษะเล็กในเด็กแรกเกิด
6 วารสารสุขภาพ เรียกว่า “ Microcephaly”
ส�านักอนามัย