Page 7 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 7

ภำวะศีรษะเล็กแต่ก�ำเนิด...คืออะไร            กำรรักษำโรคติดเชื้อไวรัสซิกำ

                  เป็นความผิดปกติ ซึ่งอาจมีสาเหตุจากพันธุกรรม      ปัจจุบันยังไม่มียารักษา ส่วนใหญ่เป็นแล้วหายได้เอง
           หรือสิ่งแวดล้อมที่เป็นพิษ การฉายรังสี หรือการติดเชื้อ       ภายใน 2 - 7 วัน มักมีอาการไม่รุนแรง โดยเบื้องต้น
           ซึ่งเด็กแรกเกิดที่มีรอบศีรษะขนาดเล็กปกติ เมื่อพิจารณา   สามารถปฏิบัติตนได้ ดังนี้

           ตามอายุครรภ์ที่แรกคลอด  และเพศ  โดยภาวะศีรษะเล็ก      1)  การพักผ่อนให้เพียงพอ ดื่มน�้ามากๆ
           อาจเกิดขึ้นเองแต่ก�าเนิดหรืออาจจะมีความเกี่ยวข้อง      2)  รักษาตามอาการ เช่น ใช้ยาลดไข้ หรือยา
           กับอาการอื่นๆ เช่น อาการชัก พัฒนาการล่าช้า หรือ   บรรเทาอาการปวด แนะน�าให้รับประทานยาพาราเซตามอล

           ความผิดปกติในการดูด  หรือกลืน  อาการเหล่านี้มี   ห้ามรับประทานยาแอสไพริน  หรือยากลุ่มลดอักเสบที่ไม่ใช่
           ความแตกต่างกันของความรุนแรง และอาจเป็นอันตราย   สเตียรอยด์ (NSAIDs) เพราะมียาบางชนิดที่เป็นอันตราย
           ถึงชีวิต ซึ่งขณะนี้ยังไม่มีการรักษาที่เฉพาะส�าหรับภาวะ     3)  ควรหมั่นสังเกตอาการตนเอง  เพราะโรค
           ศีรษะเล็กแต่ก�าเนิด                          ติดเชื้อไวรัสซิกา อาจท�าให้เลือดออกในอวัยวะภายใน
                                                        ได้ง่ายขึ้น หากอาการไม่ดีขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว


                                                        กำรป้องกันโรค
                                                               ส�าคัญที่สุด คือ ป้องกันไม่ให้ยุงกัดและท�าลาย
                                                        แหล่งเพาะพันธ์ของยุงลาย ดังนี้
                                                               1)  สวมใส่เสื้อผ้าให้มิดชิด ป้องกันอย่าให้ให้ยุงกัด

                                                               2)  ก�าจัดลูกน�้ายุงลายและท�าลายแหล่ง
                                                        เพาะพันธุ์ สิ่งแวดล้อมภายในบ้านและบริเวณบ้าน
                                                        ตามหลัก 3 เก็บ คือ เก็บบ้าน เก็บน�้า เก็บขยะ ต่อเนื่อง
                                                        ทุกสัปดาห์ และ 5 ป.

                                                               ป.ที่ 1  ปิด ปิดภาชนะขังน�้าให้มิดชิด
                  “การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง                 ป้องกันยุงลายลงไปวางไข่
              ครั้งแรกเมื่อแรกเกิด และครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 24 ชั่วโมง      ป.ที่ 2  เปลี่ยน เปลี่ยนน�้าในแจกัน

                เป็นวิธีประเมินว่าทารกมีภาวะศีรษะเล็กแต่ก�าเนิด”
                                                                       ถังเก็บน�้า ทุก 7 วัน
                                                               ป.ที่ 3  ปล่อย ปล่อยปลากินลูกน�้า
           อำกำรส�ำคัญของโรคติดเชื้อไวรัสซิกำ                  ป.ที่ 4  ปรับปรุง ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

                  อาการของโรคติดเชื้อไวรัสซิกาจะคล้ายกับ               ให้ปลอดโปร่ง
           อาการที่มีแมลงเป็นพาหะน�าโรค  เช่น  โรคไข้สมองอักเสบ      ป.ที่ 5  ปฏิบัติเป็นประจ�าจนเป็นนิสัย

           โรคไข้เหลือง และโรคไข้เลือดออก เป็นต้น โดยมีอาการ            ป้องกันโรคไวรัสซิกา
           ส�าคัญดังนี้ 1) มีไข้ 2) มีผื่นแดง เยื่อบุตาอักเสบ      3)  หญิงตั้งครรภ์  ควรหลีกเลี่ยงที่จะเดินทาง
           3)  ปวดกล้ามเนื้อ  ปวดข้อ  อ่อนเพลีย  4)  ปวดศีรษะ   ไปยังพื้นที่ที่มีการระบาด
           โดยอาการต่างๆ  เหล่านี้จะเป็นเพียงเล็กน้อย  และเป็น     4)  หากมีอาการไข้  ออกผื่น  ตาแดง  หรือ

           ประมาณ 2 - 7 วัน                             ปวดข้อ  อาจมีโอกาสที่จะเป็นโรคนี้ได้  โดยเฉพาะหญิง
                                                        ตั้งครรภ์ ให้รีบไปพบแพทย์โดยเร็ว



           รายการอ้างอิง  ส�านักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2559. โรคติดเชื้อไวรัสซิกา.
                      [ออนไลน์] สืบค้นจากhttp://beid.ddc.moph.go.th/beid_2014/th/diseases/2078.[วันที่เข้าถึง 25 กพ 2560]

                                                                                      วารสารสุขภาพ    7
                                                                                        ส�านักอนามัย
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12