Page 12 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 12
สุขภาพ ผู้สูงวัย
Care giver giver
Care
ดูแลใส่ใจ ผู้ป่วยอัลไซเมอร์
ดูแลใส่ใจ ผู้ป่วยอัลไซเมอร์
สุชัญญา บัณฑิตสกุล และศศิมา ชีพัฒน์
พยาบาลวิชาชีพช�านาญการ
ศูนย์บริการสาธารณสุข 66 ต�าหนักพระแม่กวนอิมฯ
ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร
อัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) ไม่สามารถเรียกชื่อสิ่งของที่มองเห็นอยู่ตรงหน้าได้
เป็นโรคสมองเสื่อมที่พบได้บ่อยที่สุด อาการ คือ การท�ากิจวัตรประจ�าวันต่างๆ ก็จะเริ่มมีปัญหา เช่น
ความจ�าเสื่อม หลงลืม พฤติกรรมและนิสัยเปลี่ยนไป การแต่งตัว ไม่รู้ว่าชุดไหนควรเอาไว้ใส่เวลาใด อาจมี
อาการจะด�าเนินไปอย่างช้าๆ แต่รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ อาการหลงผิด เห็นภาพหลอน กลับบ้านไม่ถูก ไม่เข้าใจ
จนในที่สุดจะช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และเสียชีวิตในที่สุด หรือลืมว่าการกระท�าเช่นนี้ไม่เหมาะสม เช่น เมื่ออากาศ
ไม่มีวิธีป้องกันหรือรักษาให้หาย มักจะพบในผู้สูงอายุ ร้อนก็ถอดเสื้อผ้าออกหมดแม้จะอยู่ในที่สาธารณะ
ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบอัตราการเป็นโรคมากขึ้น สมองเสื่อมระยะสุดท้าย ความทรงจ�า
อาการจะแบ่งเป็นระยะต่างๆ คือ ในระยะสั้น ความทรงจ�าในระยะยาว และความจ�าใน
ระยะก่อนสมองเสื่อม ผู้ป่วยจะมีความบกพร่อง การท�าสิ่งต่างๆ เช่น การใช้ช้อนส้อมจะสูญเสียไป
ทางการเรียนรู้เล็กน้อย มีปัญหาในการจดจ�าข้อมูลที่เพิ่ง การใช้ภาษาจะลดลงอย่างมาก อาจพูดเพียงวลีง่ายๆ
เรียนรู้มาไม่นาน หรือไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้ หรือค�าเดี่ยวๆ จนไม่สามารถพูดได้เลย พฤติกรรมก้าวร้าว
แต่โดยทั่วไปยังสามารถด�าเนินชีวิตประจ�าวันได้เป็น จะลดลง ต้องอาศัยพึ่งพาผู้ดูแลตลอดเวลา การท�ากิจวัตร
ปกติ ยังตัดสินใจท�าในสิ่งต่างๆ ได้ ยกเว้นเรื่องที่สลับ ประจ�าวันต่างๆ จะค่อยๆ ลดลง จนไม่สามารถท�า
ซับซ้อน กิจกรรมใดๆ ได้เลย สุดท้ายผู้ป่วยก็จะเสียชีวิตจาก
สมองเสื่อมระยะแรก มีการสูญเสียความจ�า ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น เกิดแผลกดทับและการติดเชื้อ
ในระยะสั้น ความจ�าใหม่ หรือความจ�าที่เพิ่งเรียนรู้มา
เช่น ลืมว่าเก็บกุญแจไว้ที่ไหน ลืมนัด ถามซ�้า พูดซ�้า แต่
ความทรงจ�าในระยะยาวที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย
เช่น เกิดที่จังหวัดไหนยังจ�าได้เป็นปกติ การใช้ชีวิตเริ่ม
ไม่เป็นปกติ เช่น จ�าไม่ได้ว่าสถานที่นั้นต้องไปทางไหน
และอาจจะกลับบ้านไม่ถูก จ�าไม่ได้ว่าจ่ายเงินไปแล้ว
ท�ากิจวัตรประจ�าวันไม่คล่องแคล่ว อารมณ์เริ่มเปลี่ยนไป
สมองเสื่อมระยะปานกลาง นอกจากสูญเสีย
ความทรงจ�าในระยะสั้นแล้ว ความจ�าในระยะยาว และ
ความรู้ทั่วไปก็จะค่อยๆ บกพร่องไป ผู้ป่วยจะจ�าชื่อและ
หน้าตาของเพื่อนๆ ไม่ได้ และอาจจะจ�าคนในครอบครัวไม่ได้
12 วารสารสุขภาพ
ส�านักอนามัย