Page 17 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 17

เนื่องจากผู้สัมผัสอาหาร เป็นบุคคลส�าคัญที่มีผล     ดังนั้น เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค
           ท�าให้อาหารปนเปื้อน  และเกิดการแพร่กระจายของ  จากผู้สัมผัสอาหารไปสู่ผู้บริโภค  ผู้สัมผัสอาหารต้องมี
           เชื้อโรคสารเคมีวัตถุปลอมปนต่างๆ ไปสู่ผู้บริโภคได้โดย สุขภาพดีไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อบางชนิด เช่น อหิวาตกโรค
           ผู้สัมผัสอาหารที่เจ็บป่วยสามารถแพร่เชื้อโรคได้ ดังนี้  ไข้รากสาดน้อย (ไทฟอยด์) โรคบิด โรคตับอักเสบที่เกิดจาก

                  •  โรคระบบทางเดินหายใจ หรือโรคผิวหนัง  ไวรัส เป็นต้น เพราะถ้าหากเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าว
           สามารถติดต่อได้ทางการสัมผัส                  แล้วก็จะท�าให้เชื้อโรคเกิดการแพร่กระจายลงสู่อาหาร
                  •  โรคอุจจาระร่วง บิดไทฟอยด์ซึ่งเชื้อโรค ได้และกรณีที่ผู้บริโภคได้รับเชื้อเข้าไปในร่างกายก็อาจ
           อาจติดไปกับมือของผู้สัมผัสอาหารหากผู้สัมผัสอาหาร จะท�าให้จะเกิดการเจ็บป่วยได้ส�าหรับโรคบางชนิด  เช่น

           ไม่ล้างมือให้สะอาดหลังออกจากห้องส้วมแล้วใช้มือ อหิวาตกโรคและไข้รากสาดน้อย  อาจจะท�าให้ผู้ป่วย
           หยิบอาหาร                                    ไม่แสดงอาการของโรคเรียกว่าเป็นพาหะน�าโรคที่แฝงอยู่
                  •  โรควัณโรค หวัด ตับอักเสบชนิดเอ สามารถ  (Healthcarrier) ซึ่งจะพบเชื้อโรคปะปนอยู่ในอุจจาระเสมอ
           ติดต่อได้ทางน�้ามูก  น�้าลาย  ในกรณีไอจามหรือพูดคุย  และจะสังเกตอาการภายนอกได้ยาก จ�าเป็นจะต้องตรวจเชื้อ

           รดอาหาร                                      จากอุจจาระจึงจะทราบได้นอกจากนี้บาดแผลที่มีหนอง
                  •  ในกรณีที่มือมีบาดแผล ฝีหนอง การอักเสบ  จะมีเชื้อ สแตปฟิโลคอคคัส ออเรียส (Staphylococcus
           ของผิวหนัง เชื้อโรคในบาดแผลอาจจะปนเปื้อนลงใน  aureus) ซึ่งอาจจะมีการสร้างสารพิษขึ้น และถ่ายทอดลง
           อาหารระหว่างการเตรียม ปรุง-ประกอบอาหาร ในขณะ  สู่อาหารท�าให้ผู้บริโภคเสี่ยงต่อการเกิดโรคอาหาร

           ใช้มือที่เป็นแผลสัมผัสอาหาร                  เป็นพิษได้ ดังนั้น ผู้สัมผัสอาหารจะต้องรักษาสุขภาพ
                                                        ของตนเองเป็นประจ�า เพื่อไม่ให้เกิดโรคดังกล่าวหรือ
                                                        หากเกิดขึ้นแล้วก็ต้องรักษาโรคให้หายก่อนจะเริ่มปฏิบัติงาน
                                                        ที่เกี่ยวข้องกับอาหารนอกจากนี้  ผู้สัมผัสอาหารก็ควรหมั่น

                                                        สังเกตตัวเองอย่างสม�่าเสมอ หากพบว่ามีความผิดปกติ
                                                        ก็ควรรีบพบแพทย์เพื่อท�าการรักษาต่อไป


           รายการอ้างอิง
                  1.  ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง สถานที่จ�าหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร พ.ศ. 2545
                  2.  ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยหลักเกณฑ์การจัดตั้งสถานที่จ�าหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร พ.ศ. 2546
                  3.  ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง การจ�าหน่ายสินค้าในที่หรือทางสาธารณะ พ.ศ. 2545
                  4.  ส�านักสุขาภิบาลอาหารและน�้า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือผู้สัมผัสอาหาร โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร
                    แห่งประเทศไทย. พ.ศ. 2553.
                  5.  ส�านักสุขาภิบาลอาหารและน�้า กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือวิชาการสุขาภิบาลอาหารส�าหรับเจ้าหน้าที่
                    Principles of Food Sanitation Inspector. พ.ศ. 2541
                  6.  กองสุขาภิบาลอาหาร ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร. คู่มือผู้ประกอบการร้านอาหาร. บริษัท พี ทู ดีไซน์ แอนด์พลิ๊นท์ จ�ากัด.
                    พ.ศ. 2553
                                                                                      วารสารสุขภาพ    17
                                                                                        ส�านักอนามัย
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22