Page 16 - วารสารสุขภาพ สำนักอนามัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1
P. 16

เรื่องน่ารู้ ผู้บริโภค




           รู้ไหม ?  ขายอาหารต้องตรวจสุขภาพ




                                                                                  ณัฐยาภรณ์  สร้อยนาค
                                                                                  นักวิชาการสุขาภิบาลช�านาญการ
                                                                                  กองสุขาภิบาลอาหาร
                                                                                  ส�านักอนามัย กรุงเทพมหานคร



                  อาหารที่วางจ�าหน่ายทั่วไปในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีความหลากหลาย พบว่าประชาชนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหาร

           มารับประทาน เนื่องจากวิถีชีวิตของคนกรุงเทพมหานคร มีความเร่งรีบ แข่งขัน ไม่มีเวลาในการเตรียมประกอบ
           ปรุงอาหารรับประทาน ซึ่งจะพบว่า การจ�าหน่ายอาหารในร้านอาหาร ภัตตาคาร หรือแผงลอยจ�าหน่ายอาหารริมบาทวิถี
           ก็ล้วนแต่ต้องผ่านกระบวนการเตรียม  ประกอบปรุงอาหารโดยผู้สัมผัสอาหาร  ซึ่งมีทั้งคนปรุง  คนเสิร์ฟ  คนเตรียม

           วัตถุดิบ โดยหากพบว่าบุคคลเหล่านี้มีสุขภาพไม่แข็งแรง เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถติดต่อจากการรับประทานอาหาร
           ก็จะส่งผลกระทบต่อผู้บริโภคให้มีการเจ็บป่วยได้ด้วย




















                  ดังนั้น  เพื่อเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้บริโภค  มีเหตุควรเชื่อว่าป่วยเป็นโรคติดต่อ ท�าการจ�าหน่าย
           อาหารที่สะอาด  ปลอดภัยจากเชื้อโรค  หนอนพยาธิ   ท�า  ประกอบ  ปรุง  เก็บหรือสะสมอาหาร  โดยมีแพทย์

           และสารเคมีอันตราย  กรุงเทพมหานครจึงได้ออกกฎหมาย  รับรองอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งและข้อบัญญัติ
           ให้ผู้ประกอบการต้องขออนุญาตจัดตั้งสถานที่  กรุงเทพมหานคร  เรื่อง  การจ�าหน่ายสินค้าในที่หรือ
           จ�าหน่ายอาหารตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข   ทางสาธารณะ พ.ศ. 2545 ข้อ 10 ห้ามผู้จ�าหน่ายและ

           พ.ศ. 2535 ซึ่งมีข้อก�าหนดที่ส�าคัญ คือ ผู้สัมผัสอาหาร  ผู้ช่วยจ�าหน่ายสินค้าประกอบกิจการเมื่อมีเหตุควรเชื่อ
           ต้องไม่เป็นโรคติดต่อตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ  โดย  ว่าเป็นโรคติดต่อหรือเมื่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขได้
           จะต้องมีการตรวจสุขภาพตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร  ตรวจพบว่าเป็นพาหะของโรคติดต่อ ดังต่อไปนี้ 1. วัณโรค
           เรื่อง สถานที่จ�าหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร  2. อหิวาตกโรค 3. ไข้รากสาดน้อย (ไทฟอยด์) 4. โรคบิด
           พ.ศ. 2545 ข้อ 10 ผู้ได้รับใบอนุญาตหรือผู้ได้รับ  5. ไข้สุกใส 6. โรคคางทูม 7. โรคเรื้อน 8. โรคผิวหนัง

           หนังสือรับรองการแจ้งต้องไม่เป็นโรคติดต่อตามกฎหมาย  ที่น่ารังเกียจ 9. โรคตับอักเสบที่เกิดจากไวรัส 10. โรคอื่นๆ
           ว่าด้วยโรคติดต่อ และไม่จ้างหรือใช้บุคคลที่ป่วยหรือ  ตามที่ราชการก�าหนด





      16   วารสารสุขภาพ
           ส�านักอนามัย
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21