Page 64 - Annual Report2555
P. 64
ทศวรรษ
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
ค่าธรรมเนียมการค�้าประกันและการให้กู้ต่อ
นางสาวปวีณา ส�าเร็จ
นางสาวสุธาวรรณ วรรณสุกใส
ส�านักจัดการหนี้ 2
กำรค�้ำประกันและกำรให้กู้ต่อเป็นเครื่องมือหนึ่งของภำครัฐที่ช่วยสนับสนุนกำรด�ำเนินงำนตำมนโยบำยรัฐ โดยกำร
เข้ำไปช่วยให้ผู้กู้ซึ่งอำจมีปัญหำเรื่องฐำนะกำรเงินหรือมีระดับควำมน่ำเชื่อถือไม่ดีเท่ำที่ควรสำมำรถจัดหำเงินกู้ที่มีต้นทุนที่
ต�่ำลงได้ อย่ำงไรก็ดี กำรค�้ำประกันและกำรให้กู้ต่อได้ก่อให้เกิดภำระผูกพันในอนำคตกับผู้ค�้ำประกันและผู้ให้กู้ต่อในกรณีที่
ผู้ขอค�้ำประกันและขอกู้เงินต่อไม่สำมำรถจ่ำยช�ำระหนี้ได้ ส่งผลให้ผู้ค�้ำประกันและผู้ให้กู้ต่อต้องรับภำระช�ำระหนี้ดังกล่ำวแทน
ในกรณีของกระทรวงกำรคลังที่ให้กำรค�้ำประกันและให้กู้ต่อกับรัฐวิสำหกิจและสถำบันกำรเงินภำครัฐ ได้ก่อให้เกิดภำระ
ผูกพันในอนำคตหำกรัฐวิสำหกิจหรือสถำบันกำรเงินภำครัฐไม่สำมำรถช�ำระหนี้เงินกู้ที่กระทรวงกำรคลังค�้ำประกัน
และให้กู้ต่อได้ กระทรวงกำรคลังในฐำนะผู้ค�้ำประกันและให้กู้ต่อจึงต้องเข้ำมำรับภำระช�ำระหนี้เงินกู้ดังกล่ำวแทน ดังนั้น
ภำระหนี้ที่เกิดจำกกำรค�้ำประกันและให้กู้ต่อแก่รัฐวิสำหกิจและสถำบันกำรเงินภำครัฐจึงเป็นควำมเสี่ยงที่กระทรวงกำรคลัง
อำจจะต้องเผชิญในอนำคต
กระทรวงกำรคลัง โดยส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ (สบน.) จึงได้เรียกเก็บค่ำธรรมเนียมกำรค�้ำประกัน และกำรให้
กู้ต่อ (Guarantee Fee and On-lending Fee) ที่ได้ประยุกต์หลักกำรคิดค่ำธรรมเนียมฯ ตำมต้นทุนและควำมเสี่ยงของ
รัฐวิสำหกิจหรือสถำบันกำรเงินภำครัฐที่ได้รับกำรค�้ำประกันหรือเป็นผู้กู้ต่อตลอดอำยุของกำรค�้ำประกันหรือให้กู้ต่อ ประเทศ
พัฒนำแล้วหลำยประเทศได้น�ำหลักกำรดังกล่ำวพิจำรณำก�ำหนดอัตรำค่ำธรรมเนียมฯ ยกตัวอย่ำงเช่น ประเทศออสเตรเลีย
ซึ่งก�ำหนดค่ำธรรมเนียมฯ จำกกำรวิเครำะห์ควำมเสี่ยงทำงเครดิตของผู้กู้หรือผู้ขอค�้ำประกัน (Stand-alone Analysis) เพื่อ
วิเครำะห์ถึงควำมสำมำรถในกำรช�ำระหนี้ของหน่วยงำน และประเทศสวีเดนได้ก�ำหนดอัตรำค่ำธรรมเนียมฯ ที่ครอบคลุม
ต้นทุนควำมเสี่ยงที่คำดว่ำจะเกิดในอนำคตประกอบด้วย (Expected Costs) เป็นต้น อย่ำงไรก็ดี ค่ำธรรมเนียมฯ ที่กระทรวง
กำรคลังเรียกเก็บไม่สำมำรถเรียกเก็บในอัตรำที่สูงเพื่อให้ครอบคลุมควำมเสี่ยงได้ทั้งหมด เนื่องจำกรัฐวิสำหกิจและสถำบัน
กำรเงินภำครัฐถือเป็นหน่วยงำนภำครัฐและเป็นกลไกของรัฐบำลในกำรพัฒนำประเทศ ดังนั้น วัตถุประสงค์หลัก
ในกำรเรียกเก็บค่ำธรรมเนียมฯ ของกระทรวงกำรคลังจึงมุ่งที่จะใช้ค่ำธรรมเนียมฯ ดังกล่ำวเป็นเครื่องมือเพื่อสะท้อนให้
รัฐวิสำหกิจหรือสถำบันกำรเงินภำครัฐตระหนักถึงต้นทุนเงินกู้และควำมเสี่ยงที่อำจจะเกิดขึ้นในอนำคต ตลอดจนเพื่อลด
ควำมเสี่ยงจำกกำรค�้ำประกันและให้กู้ต่อของกระทรวงกำรคลัง
ในมุมมองของ สบน. นอกจำกจะพิจำรณำควำมเสี่ยงทำงเครดิตของรัฐวิสำหกิจในฐำนะผู้ขอรับกำร
ค�้ำประกันและขอกู้เงินต่อจำกกระทรวงกำรคลังแล้ว สบน. ยังมุ่งที่จะพัฒนำรัฐวิสำหกิจและยกระดับกำร
ด�ำเนินงำนของรัฐวิสำหกิจให้มีประสิทธิภำพ และมีควำมมั่นคงทำงกำรเงิน โดยได้ปรับใช้หลักกำรคิดค่ำธรรมเนียมฯ ตำมแนวทำง
ข้ำงต้นเพื่อสะท้อนให้รัฐวิสำหกิจตระหนักถึงต้นทุนเงินกู้ และสะท้อนถึงระดับควำมเสี่ยงทำงเครดิตของรัฐวิสำหกิจ
อย่ำงเป็นรูปธรรม ซึ่งสำมำรถน�ำไปวิเครำะห์เพื่อประกอบกำรพัฒนำประสิทธิภำพกำรด�ำเนินงำน สร้ำงวินัยทำงกำรเงิน
สร้ำงควำมน่ำเชื่อถือและเชื่อมั่นให้กับรัฐวิสำหกิจเป็นส�ำคัญอีกด้วย ซึ่งจะส่งผลให้รัฐวิสำหกิจสำมำรถลดต้นทุนกำรกู้เงิน
รวมทั้งสำมำรถจัดหำเงินกู้ได้ด้วยตนเอง โดยกระทรวงกำรคลังไม่ต้องให้กำรค�้ำประกันหรือให้กู้ต่อ อันส่งผลต่อกำรลดภำระ
ผูกพันของรัฐบำลที่จะเกิดขึ้นในอนำคต
รายงานประจ�าปี 2555 : ส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ
62