Page 68 - Annual Report2555
P. 68

ทศวรรษ
                       สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
                       PUBLIC DEBT MANAGEMENT OFFICE
                 ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะกับการสร้างวัฒนธรรมแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้


                 “เปิดกรุการเรียนรู้ ขุมทรัพย์ทางปัญญา ของ สบน.”

                      นางสาวสมหญิง ด�ารงเเสง
                      กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
                     องค์กรทุกๆ องค์กรย่อมมีขุมทรัพย์ทำงปัญญำซ่อนเร้นอยู่ในองค์กร และขึ้นอยู่ว่ำองค์กรนั้นจะมีควำมสำมำรถใน
                 กำรแสวงหำขุมทรัพย์เหล่ำนั้นมำด้วยวิธีกำรอย่ำงไร

                     ขุมทรัพย์ทำงปัญญำที่ส�ำคัญ คือ ควำมรู้ที่มีอยู่ภำยในคนที่เป็นสมำชิกขององค์กรนั่นเอง ควำมรู้เหล่ำนี้ ถ้ำหำก
                 ไม่ตระหนักถึง ไม่ให้คุณค่ำ และไม่มีวิธีกำรที่จะท�ำให้ได้มำ ก็เป็นกำรสูญเสียทรัพยำกรที่มีค่ำไปโดยเปล่ำประโยชน์
                 เนื่องจำกควำมรู้ที่บุคคลได้รับมำนั้น เป็นควำมรู้ที่เกิดจำกประสบกำรณ์ในกำรท�ำงำน ผ่ำนกระบวนกำรคิดวิเครำะห์
                 หรือสังเครำะห์มำแล้ว ซึ่งไม่มีอยู่ในคู่มือหรือในต�ำรำใดๆ มำก่อนเลย  ดังนั้น ส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ (สบน.)

                 จึงได้เล็งเห็นถึงควำมส�ำคัญของกำรน�ำควำมรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคลำกรของ สบน. ออกมำใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยกำร
                 เปิดกรุขุมทรัพย์ทำงปัญญำที่มีอยู่ภำยในองค์กร หรือในทำงเศรษฐศำสตร์ก็คือ จะต้องน�ำ “สินทรัพย์มำเป็นทุน” นั่นเอง
                                                                  แนวคิดหรือวิธีกำรที่ สบน. ได้น�ำมำใช้ในกำรปลดปล่อย
                                                              หรือแสวงหำขุมทรัพย์ทำงปัญญำ คือ กำรจัดกำรควำมรู้ หรือ

                                                              Knowledge Management : KM ซึ่งเป็นแนวคิดหลักที่ใช้
                                                              ในกำรพัฒนำกิจกรรมกำรจัดกำรควำมรู้ของ สบน. โดยใช้
                                                                                                                  1
                                                              กระบวนกำรสร้ำงควำมรู้ SECI Model ของ Dr.Nonaka
                                                              ซึ่งเชื่อว่ำ ควำมรู้นั้นสำมำรถถ่ำยเทกันได้ตลอดเวลำ ขึ้นอยู่

                                                              กับสถำนกำรณ์ที่จะน�ำพำให้เกิดควำมรู้ใหม่ๆ ได้ และเป็นกำร
                 น�ำเอำควำมรู้ที่ซ่อนเร้นออกจำกกรุ แสดงออกสู่เวทีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งเป็นเวทีที่สะท้อนควำมเป็นมิตร สร้ำง
                 บรรยำกำศให้มีควำมสนุก เกิดควำมภำคภูมิใจ และสร้ำงนวัตกรรม รวมทั้งก่อให้เกิดมิตรภำพอันดีต่อกัน  และสิ่งส�ำคัญ
                 ของแนวคิดนี้ คือ เป็นเครื่องมือที่จะน�ำพำไปสู่ควำมส�ำเร็จได้ โดยแปลงควำมรู้ไปสู่กำรปฏิบัติงำนได้อย่ำงเป็นรูปธรรม

                 เกิดควำมเป็นพลวัตและก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทั่วทั้งองค์กร
                     จำกแนวคิดดังกล่ำวข้ำงต้น สบน. ได้น�ำมำประยุกต์และก�ำหนดรูปแบบกำรจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น
                 ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักที่ใช้ในกำรขับเคลื่อนกำรจัดกำรควำมรู้ของ สบน. โดยเวทีแลกเปลี่ยนดังกล่ำว เป็นกำรเปิด
                 โอกำสให้บุคลำกรของ สบน. ได้มีโอกำสในกำรแบ่งปันและแลกเปลี่ยนควำมรู้ในเรื่องที่เป็นหัวข้อที่น่ำสนใจในขณะนั้น

                 (Hot Issue) ควำมรู้ที่ควรมีกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น ประสบกำรณ์จำกกำรปฏิบัติงำน หรือควำมรู้ที่ได้รับจำกกำร
                 เข้ำร่วมกำรฝึกอบรม/สัมมนำทั้งในประเทศและต่ำงประเทศ เป็นต้น โดยกำรจัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นนั้น
                 จะจัดให้สอดคล้องกับบริบทของ สบน. กล่ำวคือ จัดในรูปแบบ Morning Talk ระหว่ำงเวลำ 8.00-9.00 น. หรือ
                 Lunch Talk ระหว่ำงเวลำ 11.30-13.30 น. เพื่อให้ผู้บริหำรระดับต่ำงๆ สำมำรถเข้ำร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น

                 ร่วมกับบุคลำกรของ สบน. ได้ รวมทั้งเป็นกำรหลีกเลี่ยงช่วงเวลำในกำรปฏิบัติงำนของบุคลำกรด้วย



                 1 Knowledge Spiral : SECI Model เป็นทฤษฎีที่ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
                 ร่วมกับสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติใช้ในการให้ความรู้เรื่องการจัดการความรู้แก่ส่วนราชการ โดยอ้างอิงจากหนังสือเรื่อง
                 The Knowledge Creating Company (1995) ซึ่ง Ikujiro Nonaka และ Hirotaka Takeuk เป็นผู้เขียน



                                                รายงานประจ�าปี 2555 : ส�ำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ
                                                                 66
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73