Page 66 - Annual Report 2558
P. 66

3 ปี หนี้ลด พบทางออก กับพระราชก�าหนด

                ปรับปรุงการบริหารหนี้เงินกู้ FIDF พ.ศ. 2555

                นายชลันธร เงินประดับ เศรษฐกรปฏิบัติการ


                   นับจากที่กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ         โดยการด�าเนินการช�าระหนี้ FIDF ในช่วง 15 ปี
                สถาบันการเงิน (กองทุนฟื้นฟูฯ : FIDF) ได้เข้าช่วยเหลือ  ที่ผ่านมา (ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 - 2555) พบว่า สามารถ
                สถาบันการเงินภายในประเทศ ที่ได้รับผลกระทบจาก     ช�าระคืนต้นเงินกู้ได้เพียง 172,195 ล้านบาท จากจ�านวน

                วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจในช่วงปี พ.ศ. 2540 ด้วยการ  หนี้ที่มีทั้งสิ้นกว่า 1,305,327 ล้านบาท (คิดเป็นการช�าระคืน
                ด�าเนินมาตรการต่างๆ ได้แก่ การเสริมสภาพคล่องและ  ร้อยละ 13 ของจ�านวนหนี้ FIDF ทั้งหมด) ซึ่งมีสาเหตุ
                การเพิ่มทุนให้แก่สถาบันการเงิน การให้หลักประกันและ  มาจากแหล่งเงินที่ พ.ร.ก. และมติคณะรัฐมนตรี ทั้ง 3 ฉบับ
                ความช่วยเหลือแก่ผู้ฝากเงินและเจ้าหนี้ของสถาบัน   ก�าหนด ไม่สามารถน�าส่งเงินเพื่อน�ามาใช้ช�าระคืนต้นเงินกู้
                การเงิน การเข้ารับช�าระหนี้แทนสถาบันการเงิน ตลอดจน  FIDF ได้อย่างต่อเนื่อง ท�าให้รัฐบาลจ�าเป็นต้องจัดสรร
                การเข้าด�าเนินการเกี่ยวกับสินทรัพย์ด้อยคุณภาพหรือ  งบประมาณ เพื่อการช�าระหนี้ดอกเบี้ย FIDF ในแต่ละปี

                สินทรัพย์ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของสถาบันการเงิน    เฉลี่ยปีละกว่า 60,000 ล้านบาท ซึ่งถือเป็นภาระต่อ
                จนท�าให้สถานะทางการเงินของกองทุนฟื้นฟูฯ เกิดความ  งบประมาณ และเป็นข้อจ�ากัดในการจัดท�างบประมาณ
                เสียหายขึ้น และต่อมารัฐบาลได้เข้าช่วยเหลือทางการเงิน  เพื่อน�ามาใช้จ่ายเพื่อการลงทุนและพัฒนาประเทศ รวมทั้ง
                แก่กองทุนฟื้นฟูฯ โดยมีกระทรวงการคลังท�าหน้าที่กู้เงิน  ยังส่งผลกระทบต่อกรอบความยั่งยืนทางการคลัง

                เพื่อชดใช้ความเสียหายให้กับกองทุน ภายใต้พระราช
                ก�าหนดและมติคณะรัฐมนตรี จ�านวน 3 ฉบับ (ประกอบด้วย   สถานะต้นเงินกู้ FIDF ณ 30 กันยายน 2555
                พระราชก�าหนดให้อ�านาจกระทรวงการคลังกู้เงินและ
                จัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนา
                ระบบสถาบันการเงิน พ.ศ. 2541 (พ.ร.ก. FIDF1)
                มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2543 ให้กระทรวง

                การคลังให้ความช่วยเหลือกองทุนเพื่อการฟื้นฟูฯ เพิ่มเติม     ตนเงินคงคาง           ชำระแลว
                (มติ ครม. FIDF2) และพระราชก�าหนดให้อ�านาจกระทรวง          1,133,132 ลบ.           172,195 ลบ.
                                                                                                    (13%)
                การคลังกู้เงินและจัดการเงินกู้เพื่อช่วยเหลือกองทุนเพื่อ      (87%)
                การฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่สอง
                พ.ศ. 2545 (พ.ร.ก. FIDF3) รวมการกู้เงินทั้งสิ้นกว่า

                1,305,327 ล้านบาท และมีหน้าที่ในการช�าระคืนต้นเงินกู้
                FIDF ตามแหล่งรายได้ที่ พ.ร.ก. และมติคณะรัฐมนตรี
                ทั้ง 3 ฉบับก�าหนด (ได้แก่ เงินก�าไรสุทธิจากธนาคาร   ที่มา : ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
                แห่งประเทศไทย (ธปท.) น�าส่งในแต่ละปีจ�านวนไม่น้อยกว่า
                ร้อยละ 90 เงินรายได้จากการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ และ
                เงินจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชีผลประโยชน์ประจ�าปี

                ของ ธปท. เป็นต้น) รวมถึงมีหน้าที่ในการตั้งงบประมาณ
                เพื่อช�าระดอกเบี้ย FIDF ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 เป็นต้นมา
                ซึ่งหนี้ FIDF จ�านวนดังกล่าวนับเป็นหนี้สาธารณะ


                64





        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   64                                                    8/11/16   5:42 PM
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71