Page 68 - Annual Report 2558
P. 68

จะเห็นได้ว่า ภายหลังจากมี พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF  สัดส่วนรายได้จากแหล่งเงินตาม พ.ร.ก.
                สามารถช�าระคืนต้นเงินกู้ได้มากขึ้น ซึ่งปัจจัยส�าคัญที่  ปรับปรุงการบริหารหนี้ FIDF พ.ศ. 2555

                ท�าให้สามารถด�าเนินการช�าระคืนต้นเงินกู้ FIDF ได้มี                0%     1%
                ประสิทธิภาพมากขึ้น ส่วนหนึ่งมาจากแหล่งเงินที่ พ.ร.ก.
                ปรับปรุงหนี้ FIDF ได้ก�าหนดเพิ่มเติม ซึ่งได้แก่ แหล่งเงิน
                จากเงินหรือสินทรัพย์ของกองทุนฟื้นฟูฯ รวมถึงแหล่งเงิน
                จากเงินน�าส่งที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเรียกเก็บจาก

                สถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.46 ซึ่งแต่เดิมเคยเป็น            57%            42%
                แหล่งเงินที่สถาบันการเงินจะต้องน�าส่งให้กับสถาบัน
                คุ้มครองเงินฝาก ตามพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครอง
                เงินฝาก พ.ศ. 2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครอง
                เงินฝากของประชาชน รวมถึงนิติบุคคล ที่ฝากเงินไว้กับ
                สถาบันการเงิน อย่างไรก็ดี เมื่อมีการประกาศใช้ พ.ร.ก.   กำไรสุทธิจากธปท.      เงินหรือสินทรัพยของกองทุน

                ปรับปรุงหนี้ FIDF และก�าหนดให้สถาบันการเงินต้องน�า   สินทรัพยคงเหลือในบัญชีผลประโยชน  เงินนำสง 0.46
                ส่งเงินให้กับธนาคารแห่งประเทศไทยเพื่อน�าส่งให้กับ  ที่มา : ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
                กองทุนฟื้นฟูฯ ส�าหรับน�าไปช�าระคืนต้นเงินและดอกเบี้ย
                FIDF ในอัตราร้อยละ 0.46 ต่อปีจากฐานเงินฝากที่ได้รับ  นอกจากนี้ ยังมีแหล่งเงินอื่นภายใต้ พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้

                จากประชาชน จึงได้มีการปรับลดการน�าส่งเงินของสถาบัน  FIDF ซึ่งได้แก่ แหล่งเงินจากสินทรัพย์คงเหลือในบัญชี
                การเงินเข้าสถาบันคุ้มครองเงินฝากผ่านการออกพระราช  ผลประโยชน์ประจ�าปีของ ธปท. ที่น�าส่งเงินคิดเป็นสัดส่วน
                กฤษฎีกาก�าหนดอัตราเงินน�าส่งเข้ากองทุนคุ้มครองเงินฝาก  ร้อยละ 1 ของจ�านวนเงินน�าส่งทั้งหมด ขณะที่ยังไม่มี
                พ.ศ. 2555 ที่ก�าหนดให้ปรับลดอัตราเงินน�าส่งจากเดิม  การน�าส่งเงินจากแหล่งเงินก�าไรสุทธิของ ธปท. เนื่องจาก
                ร้อยละ 0.40 ต่อปี ของยอดเงินฝากถัวเฉลี่ยของบัญชี  ธปท. ยังมีผลด�าเนินงานขาดทุนสะสมอย่างต่อเนื่อง จึงยัง
                ที่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติสถาบันคุ้มครอง  ไม่สามารถน�าส่งเงินในส่วนดังกล่าวส�าหรับใช้ในการช�าระ

                เงินฝาก ลดลงเหลือร้อยละ 0.01 แทน โดยมองว่าในปัจจุบัน  หนี้ FIDF ตาม พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF ได้
                ระบบการเงินของประเทศมีเสถียรภาพและสถาบันการเงิน      อย่างไรก็ดี จากผลการช�าระหนี้ในช่วง 3 ปีแรก
                มีความมั่นคงมากขึ้น ตลอดจนมีการบริหารจัดการและ  ที่ พ.ร.ก. ปรับปรุงหนี้ FIDF มีผลบังคับใช้ แสดงให้เห็นว่า
                การก�ากับดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบกับสถาบัน  การช�าระคืนหนี้ภายใต้แหล่งเงินที่เพิ่มขึ้นตามที่ พ.ร.ก.
                คุ้มครองเงินฝากมีเงินสะสมในกองทุนคุ้มครองเงินฝาก  ก�าหนด มีส่วนส�าคัญที่ท�าให้การช�าระคืนหนี้ FIDF ทั้ง

                ที่เหมาะสมและเพียงพอส�าหรับการจ่ายคืนให้แก่ผู้ฝากเงิน  ในส่วนของต้นเงินและดอกเบี้ยมีประสิทธิภาพ โดย
                ในกรณีที่สถาบันการเงินถูกเพิกถอนใบอนุญาตได้      สามารถน�ามาช�าระดอกเบี้ยที่จะต้องด�าเนินการช�าระ
                   ทั้งนี้ จากข้อมูล ณ 30 กันยายน 2558 พบว่า แหล่งเงิน  ในแต่ละปีได้ทั้งจ�านวน จากเดิมที่ต้องมีการตั้งงบประมาณ
                ทั้ง 2 มีการน�าส่งเงินในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน โดยแหล่งเงิน  เพื่อน�ามาใช้ช�าระ นับเป็นการช่วยลดภาระต่องบประมาณ
                จากเงินน�าส่งที่ธนาคารแห่งประเทศไทยเรียกเก็บจาก  ได้ในระยะยาว อีกทั้งยังสามารถน�ามาใช้ช�าระคืนต้นเงินกู้
                สถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.46 และแหล่งเงินจากเงิน  ในแต่ละปีได้เพิ่มเติม โดยสามารถน�ามาใช้ช�าระคืนได้

                หรือสินทรัพย์ของกองทุนฟื้นฟูฯ น�าส่งเงินคิดเป็นสัดส่วน  เฉลี่ยถึงปีละ 44,700 ล้านบาท ส่งผลให้ยอดหนี้คงค้าง
                ร้อยละ 57 และ 42 ของจ�านวนเงินน�าส่งทั้งหมด   FIDF มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง




                66





        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   66                                                    8/11/16   5:42 PM
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73