Page 73 - Annual Report 2558
P. 73

รายงานประจ�าปี 2558
                                                                                                 Annual Report 2015




                   รูปแบบการลงทุนของโครงการและรูปแบบการเดินรถ       ดังนี้ (1) ค่าจัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน เห็นควรใช้งบประมาณ

                      ฝ่ายไทยและจีนได้ข้อตกลงเบื้องต้นร่วมกัน โดย   (2) ค่างานโยธา  (EPC 1) เห็นควรใช้เงินกู้ภายในประเทศ
                   แบ่งสัญญา EPC เป็น 2 สัญญา เพื่อความชัดเจนในการ  เนื่องจากจ้างผู้รับเหมาไทยและท�าสัญญาเป็นเงินบาท
                   ด�าเนินงาน (ด�าเนินการช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมาเป็น  และ (3) ค่า E&M และค่าจ้างที่ปรึกษาก�ากับงาน (EPC 2)
                   ล�าดับแรก)                                       ฝ่ายไทยอาจจะพิจารณาใช้เงินกู้รัฐบาลจีน หากข้อเสนอ







                    EPC 1                 ไทย    ไทยลงทุนเองทั้งหมด โดยการ Bidding    ประมาณ 80%   งานโยธา (โครงสร้าง)
                    • งานโยธา                    และใช้ผู้รับเหมาไทย โดยอาจแบ่งเป็น 4 ช่วง   ของวงเงินลงทุน
                                                 โดยฝ่ายจีนเข้ามาตรวจสอบคุณภาพงาน
                                                 ก่อสร้างโยธา เพื่อให้เป็นไปตามแผนงาน
                                                 และลดการโต้แย้ง เมื่อจีนเข้ามาติดตั้งระบบ
                    EPC 2
                    • งานระบบราง Electrical and   จีน   จีนเป็นผู้ด�าเนินการ เนื่องจากเป็นเทคโนโลยีจีน   ประมาณ 20%   เงินกู้รัฐบาลจีน
                    Mechanical (E&M)                                              ของวงเงินลงทุน   แหล่งอื่น
                    (ระบบรางไฟฟ้า และเครื่องกล
                    รถจักร ล้อเลื่อนและหัวรถจักร
                    และขบวนรถไฟความเร็วสูง)
                    • งานจ้างที่ปรึกษา       ไทย   ไทยเป็นผู้ด�าเนินการเองทั้งหมด โดยจะเปิดโอกาส      ร่วมลงทุน
                    ก�ากับตรวจสอบ คุณภาพงานโยธา      ให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม อย่างไรก็ตาม
                    Operation and Maintenance      ในระยะแรกขอให้จีนเข้ามาช่วยอบรม
                                                 และถ่ายทอดเทคโนโลยี

                   ที่มา : ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ


                   สบน. กับการเจรจาเงินกู้                          เงินกู้รัฐบาลจีนมีเงื่อนไขที่พิเศษและดีกว่าที่ฝ่ายไทย

                      สบน. ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนฝ่ายไทยใน      จัดหาได้ อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลไทยต้องการกู้เงิน
                   การเจรจากับฝ่ายจีนเกี่ยวกับแหล่งเงินทุนและรูปแบบ   จากรัฐบาลจีน ฝ่ายไทยต้องพิจารณาข้อเสนอทางการเงิน
                   การระดมทุน โดยพิจารณาแหล่งเงินทุนและรูปแบบ       ของรัฐบาลจีน (ผ่าน CEXIM) อย่างละเอียดถี่ถ้วน
                   การระดมทุน โดยเปรียบเทียบจากต้นทุนการกู้เงินจากตลาด  โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับเงื่อนไขเงินกู้และร่างสัญญา

                   การเงินในประเทศและระหว่างประเทศ สกุลเงิน วงเงิน   เงินกู้ (Loan Agreement)
                   ระยะเวลา และเงื่อนไขเงินกู้ ในเบื้องต้นได้ข้อสรุปว่า
                   ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบในหลักการว่าแหล่งที่มาของเงินทุน  การจัดตั้งบริษัทร่วมทุนส�าหรับ Operation and
                   ของโครงการจะมาจากหลายแหล่ง ได้แก่ เงินกู้ภายใน   Maintenance (O&M) ดีอย่างไร
                   ประเทศและเงินกู้เงื่อนไขพิเศษจากรัฐบาลจีน อย่างไรก็ตาม   การขับเคลื่อนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่มีความ
                   เนื่องจากฝ่ายไทยจะเป็นผู้ลงทุนทั้งหมด และตลาดการเงิน  ส�าคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการลงทุน

                   ในประเทศปัจจุบันมีสภาพคล่องสูงและเอื้ออ�านวยต่อ   ในระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่ง
                   การระดมทุนในประเทศ ดังนั้น สบน. เห็นควรเสนอ      เพื่อรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศ
                   แนวทางในการจัดสรรเงินลงทุนส�าหรับการด�าเนินโครงการ   และการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระดับภูมิภาค จ�าเป็นต้องใช้






                                                                                                               71
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78