Page 74 - Annual Report 2558
P. 74
ดังนั้น การศึกษาการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน (Joint
Venture Company) ระหว่างรัฐบาลไทย/เอกชนไทย/
เอกชนจีน (หากเอกชนจีนสนใจ) เพื่อก�าหนดสัดส่วน
การลงทุนในการบริหารจัดการเดินรถและซ่อมบ�ารุง
(O&M) ที่เหมาะสม จ�าเป็นต้องประเมินคุ้มค่าทางการเงิน
(Value for Money) เพื่อเสนอแนะโครงสร้างของรูปแบบ
บริษัทร่วมทุน (Shareholder Structure) สัดส่วนการลงทุน
(Capital Base) และรูปแบบทางการเงิน (Financial
Model) ของบริษัทร่วมทุน อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะมี
การจัดตั้งบริษัทร่วมทุนส�าหรับ O&M แต่เนื่องจาก
โครงการดังกล่าวเป็นความร่วมมือ G-to-G ดังนั้น ฝ่ายจีน
จะเข้ามาช่วยอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ
บริหารจัดการเดินรถและซ่อมบ�ารุงให้แก่บุคลากรไทย
เพื่อให้สามารถบริหารจัดการเดินรถและซ่อมบ�ารุงเองได้
วงเงินลงทุนจ�านวนมหาศาล ในขณะที่รายได้ของรัฐบาล
ที่จัดเก็บได้จากภาษีอากรในแต่ละปีมีอยู่อย่างค่อนข้าง แผนการด�าเนินงาน
จ�ากัด ไม่เพียงพอต่อความต้องการในการลงทุนเพื่อพัฒนา เพื่อให้สามารถด�าเนินโครงการได้ตามเป้าหมายและ
โครงสร้างพื้นฐานของประเทศ ส่งผลให้ภาครัฐต้องกู้เงิน ระยะเวลาที่รัฐบาลทั้งสองฝ่ายเห็นชอบร่วมกัน ทั้งสองฝ่าย
ผ่านระบบการจัดท�างบประมาณรายจ่ายประจ�าปี หรือกู้เงิน จ�าเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในการหาข้อสรุปเกี่ยวกับ
ผ่านการด�าเนินงานของรัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานต่างๆ ข้อมูลโครงการ อัตราผลตอบแทน และแบบรายละเอียด
ของภาครัฐ เพื่อน�ามาใช้สนับสนุนการลงทุนในโครงการ การศึกษาและเทคนิค เพื่อให้ด�าเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ให้สามารถด�าเนินต่อไปได้ เช่น การจัดท�ารายละเอียด EPC
เพื่อเป็นการลดภาระในการกู้เงินเพื่อสนับสนุนการ Contract การระดมทุนและรูปแบบการลงทุน การผลักดัน
ด�าเนินโครงการ สบน. อยู่ระหว่างศึกษาและวิเคราะห์ การจัดตั้ง SPV O&M ให้เห็นผลเป็นรูปธรรม โดยต้อง
รูปแบบการลงทุนของบริษัทร่วมทุน (SPV Modality) มีการหารือเกี่ยวกับข้อตกลงเกี่ยวกับการให้สัมปทาน
ที่เหมาะสมส�าหรับโครงการรถไฟไทย-จีน และหารือร่วมกับ (Concession Agreement) โครงสร้างและองค์ประกอบ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ส�านักงานคณะกรรมการ ของ SPV การจัดท�าแผนธุรกิจและการเงิน (Financial
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ส�านักงานนโยบาย Plan) เกี่ยวกับรายได้ที่เกี่ยวเนื่องกับค่าโดยสารและ
และการขนส่งและจราจร ส�านักงานคณะกรรมการ การเดินรถ (Fare Revenue) รวมถึงศึกษาความเป็นไปได้
นโยบายรัฐวิสาหกิจ ส�านักงบประมาณ และการรถไฟแห่ง ในการหารือเกี่ยวกับรายได้นอกเหนือจากการให้บริการ
ประเทศไทย (รฟท.) ในการผลักดันการจัดตั้งบริษัท (Non-fare Revenue) หรือการเก็บภาษีอสังหาริมทรัพย์
ร่วมทุนส�าหรับงาน O&M โดยรัฐบาลไทยจะส่งเสริมการมี ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่ง เป็นต้น
ส่วนร่วมของเอกชนไทยในการบริหารจัดการการเดินรถ
และซ่อมบ�ารุง และยินดีให้ฝ่ายจีนร่วมลงทุนภายใต้
เงื่อนไขของฝ่ายไทย
72
59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd 72 8/11/16 5:42 PM