Page 76 - Annual Report 2558
P. 76

การติดตามและประเมินผลความคุ้มค่า


                ของโครงการลงทุนภาครัฐที่ใช้เงินกู้

                นางสาววันทนา บัวบาน นักวิชาการคลังช�านาญการ
                นางสาววรารักษ์ ชมมณี นักวิชาการคลังปฏิบัติการ




                สบน. กับบทบาทการประเมินผลโครงการลงทุน            ต่อเนื่องท�าให้ภาครัฐมีศักยภาพในการจัดหารายได้และ

                ภาครัฐ                                           เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารหนี้สาธารณะอย่างยั่งยืน
                   ส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ในฐานะ      ได้หรือไม่ในระยะยาว นอกจากนี้ โครงการลงทุนภาครัฐ
                หน่วยงานภาครัฐซึ่งมีบทบาทส�าคัญในการบริหารจัดการ  ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้
                หนี้สาธารณะของประเทศผ่านนโยบายด้านการคลังและ     เงินกู้ส่วนใหญ่ มักได้รับความสนใจจากภาคประชาชน
                การลงทุนของประเทศ มีความจ�าเป็นที่จะต้องค�านึงถึง  เป็นจ�านวนมาก ท�าให้ภาครัฐจะต้องมีการก�าหนดแนวทาง
                ความคุ้มค่าทางการเงินและทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจาก  ในการด�าเนินโครงการที่รอบคอบ และโปร่งใส โดยจะต้อง

                การด�าเนินโครงการลงทุนภาครัฐเหล่านั้น เพื่อที่จะ  สามารถชี้แจงต่อสาธารณชนได้
                สามารถประเมินความสามารถในการบริหารหนี้สาธารณะ
                ของประเทศ รวมไปถึงสามารถใช้เป็นกรอบแนวทาง        หลักเกณฑ์ในการประเมินผลโครงการ
                ในการพิจารณาตัดสินใจคัดเลือกโครงการลงทุนที่          การประเมินผลโครงการเงินกู้ในปัจจุบัน สบน. ได้น�า

                เหมาะสมและสอดคล้องกับนโยบายการลงทุนเพื่อพัฒนา    เกณฑ์การประเมินผลโครงการที่เป็นหลักปฏิบัติสากล
                ประเทศได้ดียิ่งขึ้น และท�าให้โครงการลงทุนของภาครัฐ   จากหน่วยงานต่างประเทศ เช่น Japan International
                ก่อให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่าต่อการลงทุนของประเทศ   Cooperation Agency (JICA) และ Asian Development
                ได้อย่างแท้จริงและช่วยลดภาระทางการคลังของภาครัฐ  Bank (ADB) มาเป็นต้นแบบและประยุกต์ใช้ในการติดตาม
                ในอนาคตจากการด�าเนินโครงการลงทุนต่างๆ เหล่านั้น   และประเมินผลโครงการในแต่ละช่วงเวลาโดยเริ่มตั้งแต่
                อีกทั้งการประเมินผลโครงการจะมีบทบาทที่ส�าคัญและ   ก่อนเริ่มด�าเนินโครงการ (Ex-ante Evaluation) จนถึง

                จะเป็นเครื่องมือที่จะช่วยประเมินผลจากการด�าเนิน  หลังจากสิ้นสุดการด�าเนินโครงการ (Ex-post Evaluation)
                โครงการของรัฐบาลว่าจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าทางด้าน  ซึ่งจะเป็นเครื่องมือที่ส�าคัญที่จะช่วยรัฐบาลในการพิจารณา
                เศรษฐกิจมากน้อยเพียงใด ประกอบกับจะช่วยให้ สบน.   ตัดสินใจลงทุนในโครงการที่จะก่อให้เกิดความคุ้มค่าและ
                สามารถพิจารณาเลือกสนับสนุนโครงการลงทุนโดยใช้     เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติในระยะยาว รวมทั้งสามารถ
                เงินกู้ที่จะมีบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจได้มากที่สุด   วัดผลการด�าเนินโครงการว่าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

                ในแต่ละช่วงเวลา และยังสามารถเสนอแนะแนวทาง        หรือไม่ บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ก�าหนดไว้มากน้อย
                การระดมทุนส�าหรับโครงการลงทุนภาครัฐได้อย่าง      เพียงใด เมื่อโครงการแล้วเสร็จประชาชน/กลุ่มผู้มีส่วนได้
                เหมาะสม โดยเฉพาะการระดมทุนโดยใช้เงินกู้ส�าหรับ   ส่วนเสียได้รับประโยชน์จากโครงการจริงหรือไม่ โดยผล
                การสนับสนุนการด�าเนินนโยบายการลงทุนของรัฐบาล     จากการติดตามและประเมินผลโครงการจะแสดงให้เห็นถึง
                ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งมีความจ�าเป็นที่จะต้องให้   ความส�าเร็จการด�าเนินโครงการ ปัญหาและอุปสรรค
                ความเชื่อมั่นต่อสาธารณชนได้ว่าหากรัฐบาลมีการลงทุน  และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขการด�าเนินโครงการ

                ในโครงการต่างๆ โดยใช้เงินกู้เพิ่มขึ้น จะก่อให้เกิด   รวมถึงบทเรียนที่ได้รับจากการด�าเนินโครงการต่างๆ ทั้งนี้
                ความคุ้มค่าต่อทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างไร ซึ่งจะส่งผล  เพื่อใช้ในการบริหารโครงการและจัดสรรเงินส�าหรับ




                74





        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   74                                                    8/11/16   5:42 PM
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81