Page 75 - Annual Report 2558
P. 75
รายงานประจ�าปี 2558
Annual Report 2015
รถไฟกับการพัฒนาเมือง อย่างต่อเนื่อง หากรัฐบาลไทยต้องการพัฒนาพื้นที่
แม้ว่าในระยะแรกอัตราผลตอบแทนทางการเงิน เชิงพาณิชย์ตลอดแนวเส้นทางโครงการก่อสร้างรถไฟ
ของโครงการจะค่อนข้างต�่า เนื่องจากในช่วงต้นของการ รัฐบาลอาจพิจารณาน�าที่ราชพัสดุหรือพื้นที่ในเขต
ด�าเนินงานคาดว่าจ�านวนผู้โดยสารยังไม่เพียงพอต่อต้นทุน ทางรถไฟของ รฟท. ที่ไม่ได้ถูกใช้งานอย่างเต็มที่ มาใช้
การด�าเนินงาน และไม่ได้รับความสนใจจากภาคเอกชน พัฒนาเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยน�ามาพัฒนาเป็นพื้นที่
ดังนั้น ภาครัฐจ�าเป็นต้องเข้าร่วมสนับสนุนในโครงการนี้ เชิงพาณิชย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดและ
อย่างเต็มที่ในการจัดตั้งบริษัทร่วมทุน การเปิดให้เอกชน ขยายความเจริญไปยังพื้นที่ตามแนวเขตทางรถไฟ
เข้ามามีส่วนร่วมในการลงทุนจะเกิดการบริหารงาน การพัฒนาเมืองเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่สนับสนุน
อย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ไม่ได้มุ่งเน้นรายได้ ความเป็นไปได้ของโครงการ การพัฒนาเมืองจะเป็นการ
จากการจัดเก็บค่าบริการ (Fare Revenue) เพียง สร้างแรงดึงดูดการค้าการลงทุนและการพัฒนาพื้นที่
อย่างเดียว แต่จะตัดสินใจและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อมีการพัฒนาเมืองและมีการสนับสนุนการพัฒนาเมือง
หรือพื้นที่เชิงพาณิชย์ของโครงการ (Transit-Oriented ด้วยระบบขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบายและรวดเร็ว
Development: TOD) ให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด จากผล จะท�าให้ความถี่ในการใช้บริการมีแนวโน้มสูงขึ้น ก่อให้เกิด
การศึกษาในประเทศญี่ปุ่น สิงคโปร์ และฮ่องกง พบว่า การพัฒนาธุรกิจระหว่างเส้นทาง สร้างงานและสร้าง
ในบางพื้นที่รายได้จากภาคส่วนธุรกิจ (Non-fare Revenue) รายได้ ดังนั้น การพัฒนาเมืองเป็นสิ่งส�าคัญที่ต้องมี
มากกว่ารายได้จากการให้บริการ ดังนั้น เมื่อมีการวางแผน การวางแผนอย่างเป็นระบบและมีการพัฒนาอย่าง
และบริหารจัดการการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และพื้นที่ มีทิศทางและควรด�าเนินการเป็นล�าดับแรก และให้
พาณิชย์ของโครงการอย่างเหมาะสมแล้ว จะท�าให้ การก่อสร้าง/พัฒนารถไฟเป็นเครื่องมือในการขยาย
โครงการมีฐานะทางการเงินที่ดีขึ้น มีความเป็นไปได้ ความเจริญและการเข้าถึงพื้นที่ (Feeder)
มากขึ้น (Viable) และ SPV ด�าเนินงานต่อไปได้
73
59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd 73 8/11/16 5:42 PM