Page 84 - Annual Report 2558
P. 84

กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ


                และพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ (กปพ.)

                นางสางวันทนีย์ โพธิ์งาม เศรษฐกรปฏิบัติการ






                ความเป็นมา                                       ภายใต้การก�ากับของคณะกรรมการกองทุนบริหารเงินกู้

                   “กองทุนบริหารเงินกู้เพื่อการปรับโครงสร้าง  เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะและพัฒนาตลาด
                หนี้สาธารณะและพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ”  ตราสารหนี้ในประเทศ (คณะกรรมการกองทุนฯ) และ
                (กปพ.)  จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติการบริหาร  ผู้อ�านวยการส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะเป็นผู้จัดการ
                หนี้สาธารณะ (พ.ร.บ. หนี้สาธารณะ) มีฐานะเป็นหน่วยงาน  กองทุนฯ โดยต�าแหน่ง ซึ่ง กปพ. ท�าหน้าที่ในการบริหาร
                ของรัฐ ภายใต้สังกัดกระทรวงการคลัง โดย กปพ. ด�าเนินการ  จัดการเงินลงทุนที่ได้รับจาก พ.ร.บ. หนี้สาธารณะ ดังนี้
                                                                     •  การกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะ

                                                                 (Pre - Funding) ตามมาตรา 24/1
                                                                     •  การกู้เพื่อพัฒนาตลาดตราสารหนี้ในประเทศ
                                                                 มาตรา 25/1
                                                                     โดยปัจจุบัน กปพ. บริหารเงินที่ได้รับจากการกู้

                                                                 ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้สาธารณะตามมาตรา 24/1
                                                                 ซึ่ง กปพ. ท�าหน้าที่ในการสนับสนุนการพัฒนาตลาด
                                                                 ตราสารหนี้ในประเทศของส�านักงานบริหารหนี้สาธารณะ
                                                                 (สบน.) ที่มีนโยบายส�าคัญในการพัฒนาตลาดตราสารหนี้
                                                                 อย่างต่อเนื่องโดยการออก Benchmark Bond ขนาดใหญ่
                                                                 เพื่อสร้างสภาพคล่องในตลาด โดยในปัจจุบันมีรุ่นที่มีขนาด

                                                                 ใหญ่สูงถึง 300,000 ล้านบาท ซึ่งท�าให้มีความเสี่ยง
                                                                 ในการปรับโครงสร้างหนี้ที่จะครบก�าหนด (Refinancing
                                                                 Risk) ดังนั้น สบน. ในฐานะหน่วยงานที่บริหารจัดการ
                                                                 หนี้สาธารณะจึงได้พัฒนาเครื่องมือในการปรับโครงสร้างหนี้
                                                                 ประกอบด้วย การกู้เงินในวันที่หนี้ครบก�าหนด (Back to Back)

                                                                 การท�าธุรกรรมแลกเปลี่ยนพันธบัตร (Bond Switching)
                                                                 และการกู้ล่วงหน้าเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ (Pre - Funding)
                                                                 และมอบเงินให้ กปพ. บริหารจัดการการลงทุน เพื่อเป็น
                                                                 อีกหนึ่งทางเลือกที่ใช้ในการปรับโครงสร้างหนี้ล่วงหน้า
                                                                 โดยเฉพาะหนี้สาธารณะที่จะครบก�าหนดซึ่งมีขนาดใหญ่
                                                                 มากกว่า 50,000 ล้านบาท ซึ่งเครื่องมือส�าหรับการ

                                                                 ปรับโครงสร้างหนี้ของ สบน. ปรากฏดังภาพที่ 1






                82





        59-04-030_001-138 Annual New11-08_Y Uncoated.indd   82                                                    8/11/16   5:42 PM
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89