Page 31 - วรรณกรรม_50_ที่ต้องได้อ่านก่อนโต
P. 31

จากความประทับใจเมื่อครั้งอ่านเรื่องสั้น
                                                                                                                                                                        “เรื่องนี้พระเอกชื่ออ้ายเล็ก” ของ ศุภร บุนนาค ตั้งแต่สมัย
                                                                              เด็กกำาพร้าคนหนึ่งถูกนำามาทิ้งไว้                                                         ที่ ชมัยภร แสงกระจ่าง ผู้เขียน อายุได้เพียง 12 ขวบ ชอบ
                                                                       ที่ลานวัด หลวงตา เจ้าอาวาสเห็นจึงเอ็นดู                                                          มากถึงขั้นที่ว่า พออ่านจบแล้ว ต้องเที่ยวหาแกงหน่อไม้กะทิ
                                                                       นำามาเลี้ยง ตั้งชื่อว่า “ขวัญสงฆ์” เด็กชาย                                                       มากินตาม “อ้ายเล็ก” ตัวเอกของเรื่อง ทั้งที่ไม่เคยกินมา
                                                                       เติบโตภายใต้คำาสอนของหลวงตา แต่ก็                                                                ก่อนในชีวิต เรื่องราวของเด็กมีปัญหาที่ได้รับความเมตตา
                                                                       ซุกซนตามประสา จนถูกหลวงตาทำาโทษ                                                                  จากหลวงตาฝังใจนับแต่นั้น เมื่อผนวกกับความสนใจศึกษา
                                                                       เลยหนีไปผจญภัยหาแม่ เจอแก๊งค์ลวง                                                                 ธรรมะเป็นการส่วนตัว โดยเฉพาะเมื่อใส่บาตรเป็นกิจวัตร
                                                                       เด็กในเมืองหลวง โชคดีที่กลับลำาได้ รีบ                                                           ได้เห็นเด็กวัดเดินตามพระสงฆ์ทุกวัน จึงกลายเป็นที่มาของ
                                                                       กลับมาหาหลวงตา เมื่อหลวงตาตัดสินใจ                                                               “ขวัญสงฆ์” และด้วยความ “อยากลอง” ในการใช้รูปแบบ
                                                                       ให้ขวัญสงฆ์ไปเป็นบุตรบุญธรรมของครูที่                                                            การเขียนที่แตกต่าง จึงทำ ให้เรื่องนี้มีจุดเด่นไม่เหมือน
                                                                       โรงเรียน เพื่อเรียนรู้ชีวิตแบบฆราวาส แต่                                                         นวนิยายเรื่องอื่นๆ ตรงที่เขียนเป็นกลอนแปด แต่ไม่ได้วาง
                                                                                                                                                                        รูปแบบให้เข้าใจว่าเป็นกลอน อย่างที่เคยเห็นในหนังสือทั่วไป
                                                                       เมื่อพ่อแม่บุญธรรมมีลูกของตัวเอง เจ้า
                     ขวัญสงฆ์                                          ตัวกลับน้อยใจ เตลิดไป ด้วยคำาพร่ำาสอน                                                            หากใช้วิธีเขียนเรียงติดกันไปเหมือนร้อยแก้วปกติ เมื่อดู
                                                                                                                                                                        เผินๆ ผู้อ่านหลายคนถึงกับออกปากว่า ไม่เคยรู้เลยว่านี่คือ
                                                                       ของหลวงตา กลายเป็นความรัก ความ
                                                                       ผูกพันระหว่างบุคคลทั้งสอง กระทั่งหลวง                                                            บทร้อยกรองด้วยซ้ำ
                                                                       ตาอาพาธ เสียชีวิตลง ขวัญสงฆ์จึงได้บวช
                                                                       ทดแทนคุณ


                           เมื่อจะเป็นเลือกได้ไม่ใช่หรือ

                      มีสองมือสรรค์สร้างไปให้เต็มที่


                          เมื่อเลือกเป็นแล้วเป็นเต็มชีวี                                                                                                                       ชมัยภร แสงกระจ่าง (บางคมบาง) หรือ


                                   ทุกนาทีคือชีวิตลิขิตตน                                                                                                               นามปากกา ไพลิน รุ้งรัตน์ / บุณฑริกา เกิดเมื่อวันที่ 5
                                                                                                                                                                        มิถุนายน พ.ศ. 2493 ที่จังหวัดจันทบุรี จบการศึกษาจาก

                                                                              นวนิยายเรื่องนี้ ตีพิมพ์ครั้งแรก                                                          คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เริ่มงานเขียน
                                                                       เป็นตอนๆ ในนิตยสารสกุลไทย เมื่อรวม                                                               ครั้งแรกด้วยบทกวีและเรื่องสั้นเมื่อครั้งยังเรียนชั้นมัธยม
                                                                       เล่มโดยสำานักพิมพ์คมบาง ได้รับรางวัล                                                             เริ่มงานวิจารณ์ครั้งแรกเมื่อจบปริญญาตรี เป็นอดีตนายก
                                                                       หนังสือดีเด่น งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ                บทสัมภาษณ์ในนิตยสารกุลสตรี ปักษ์หลัง เมษายน พ.ศ. 2551  สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย ปัจจุบัน เขียนนวนิยายใน
                                                                       ประจำาปี พ.ศ. 2552 กลุ่มหนังสือสำาหรับ                   คอลัมน์ต้นกล้าแห่งการเขียน โดย ชามา     นิตยสารสกุลไทย และขวัญเรือน  มีผลงานมากมาย อาทิ
                                                                       เด็กวัยรุ่น อายุ 12-18 ปี และได้รับการ               ภาพจาก www.combangweb.com                   บันทึกจากลูก(ผู้)ชาย บ้านไร่เรือนตะวัน จดหมายถึงดวงดาว
                                                                       คัดเลือกเป็นหนังสืออ่านนอกเวลาในระดับ                                                            พระอาทิตย์คืนแรม ริบบิ้นเขียวกับกล่องกระดาษแดง
                                                                       มัธยมศึกษาตอนต้น                                                                                 ผลิบานในวันร้อน  ฯลฯ



              30                                                                                                                                                                                                           31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36