Page 87 - วรรณกรรม_50_ที่ต้องได้อ่านก่อนโต
P. 87
สิ่งที่โดดเด่นในนวนิยายเรื่องนี้คือ การแสดง ต่อมาพิมพ์รวมเล่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 โดย เด็กกระป๋อง
ให้เห็นถึงวิถีชีวิตของพ่อค้าเล็กๆ ชาวจีนที่พำานักอยู่สำา สำานักพิมพ์แพร่พิทยา ได้รับรางวัลวรรณกรรมดีเด่น
เพ็งได้อย่างละเอียด กิจวัตรประจำาวัน บ้านเรือนที่พัก จากองค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อาศัย สายสัมพันธ์เครือญาติหรือระหว่างชาวจีนด้วย (ส.ป.อ.) หรือ รางวัลซีโต้ เมื่อปี พ.ศ. 2513 ได้รับการ
กันเอง มีชีวิตชีวา พร้อมทั้งสอดแทรกแง่มุมหลาย คัดเลือกให้เป็นหนังสืออ่านนอกเวลาของนักเรียนมัธยม
อย่างที่แหลมคม ไม่เพียงแต่เป็นเรื่องของการดิ้นรน ปลาย ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศถึง 10 ภาษา
ต่อสู้เพื่อดำารงชีพอย่างสบายเท่านั้น ในเรื่องนี้ยังมีการ และเป็น 1 ใน 100 เรื่องดีที่คนไทยควรอ่าน รวมทั้งเคย
เล่าวิธีการแสดงความรักต่อกันของหนุ่มสาวชาวจีน ดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์เมื่อในปี พ.ศ. 2525 ทาง
ในยุคสมัยนั้นซึ่งสังคมยังไม่เปิดกว้างเหมือนกับตอน ช่อง 7 สี แสดงโดย ปัญญา นิรันดร์กุล และลิขิต
นี้ ไปจนถึงการแต่งงานและสร้างครอบครัว ข้อสังเกต เอกมงคล มันเป็นเรื่องเหลวไหลที่ลูกคิด
ของส่วงอู๋ ตัวละครหลักของเรื่องที่มีต่อสิ่งที่เขาพบเจอ โบตั๋น ผู้เขียน เคยเล่าว่า “ตอนแรกผู้อ่าน
ชวนให้ขบคิดต่อได้ เช่น การพึ่งพาโชคลาภมากกว่า นึกว่าดิฉันเป็นผู้ชาย เนื่องจากตอนเขียนจดหมายจาก ว่าลูกจะเป็นอย่างอื่นไม่ได้ เขาไม่
การทำางานหนักของคนไทยซึ่งต่างจากชาวจีนอย่าง เมืองไทย ดิฉันใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 และก็เป็นผู้ชาย ได้ผลิตลูกออกมาเช่นนี้ เขาสั่งสอน
เขา เจ้าหน้าที่ของรัฐที่มักจะหาช่องทางเอาเปรียบคน ด้วย เพราะถือว่าการเป็นนักเขียนนี่ เราไม่ได้เขียนให้
ต่างด้าวเช่นเขาเสมอ ทัศนคติที่สะท้อนความไม่เท่า หญิงหรือชายอ่าน แต่เขียนให้คนอ่านซึ่งจะเป็นเพศไหน และอบรมให้ลูกเป็นอย่างนี้ต่างหาก
เทียมกันระหว่างหญิงชาย รวมทั้งความรู้สึกว่าถูกดูถูก ก็ได้ และแฟนนักอ่านของดิฉันก็เป็นผู้ชายเยอะมาก อาจ เมื่อตอนช่วงสุดท้ายของขบวนการ
จากคนไทยด้วยวิธีการต่างๆ เป็นเพราะดิฉันเขียนเรื่องประเภทที่ชื่อเรื่องหนักๆ เช่น
นวนิยายเล่มนี้ พิมพ์ครั้งแรกในนิตยสารสตรี เหยื่อ โฉด อเวจี ฯลฯ ...อย่างจดหมายจากเมืองไทย ที่ จู่ๆ คุณป้าศิลปินค่อนข้างหลุดโลกนาม ผลิต คราวนี้คิตตี้จะจัดการสั่งสอน
สาร ช่วงปี พ.ศ. 2511 - 2512 และได้รับความนิยม แปลได้หลายภาษา ดิฉันเข้าใจเลยว่าทำาไม เนื่องจากเป็น ว่า แบร์ตี้ บาร์โทลอตตี้ ก็ได้รับพัสดุกล่องโตมา ฝึกอบรมลูกใหม่ อะไรที่ทางโรงงาน
เป็นอย่างมาก แม้ว่าจะมีเสียงวิจารณ์ว่า เป็นเรื่องที่ ตัวแทนของความรู้สึกของคนที่อพยพมาจากประเทศที่ ถึงบ้าน เมื่อเปิดกระป๋องออกมาดู เธอก็พบเด็ก
สร้างความแตกแยกระหว่างคนจีนกับคนไทย แต่เมื่อ มีวัฒนธรรมเก่าแก่ ความรู้สึกของผู้คนเหล่านี้จะต่างกับ คนหนึ่งที่ได้รับการผลิตโดยโรงงานและอัดแน่น สอนลูกไว้จนเคยชิน คิตตี้จะสอน
อ่านจบ จะพบว่า จดหมายจากเมืองไทยช่วยให้ผู้อ่าน เด็กรุ่นใหม่ที่เห็นว่าการอพยพเป็นเรื่องสนุก ไปเรียน ไป มาในกระป๋อง ซึ่งมีไว้ขายสำาหรับผู้ต้องการมีลูก ใหม่ ให้ลูกชินกับสิ่งใหม่
เข้าใจพื้นฐานความคิด จิตใจ วัฒนธรรมของคนจีนใน หาประสบการณ์ แต่คนอพยพเหล่านั้น เขาอพยพด้วย ที่เรียบร้อยแบบสำาเร็จรูป แต่ปัญหาคือเธอไม่ได้
เมืองไทย และคนไทย เจ้าของแผ่นดินมากขึ้น ความจำาเป็น ความรู้สึกจึงเป็นสากล แทบทุกส่วนของ เป็นคนสั่งเด็กกระป๋องคนนี้มานี่นะ... ทว่าเมื่อ
โลกมีการอพยพ ฉะนั้น เมื่อนำามาแปลเป็นภาษาต่าง ได้เลี้ยงคอนราด คุณป้าบาร์โทลอตตี้ พบว่าชีวิต
ประเทศแล้วเขาก็จะเข้าใจ” เธอเต็มไปด้วยความสุขและมีชีวิตชีวา ดังนั้นเมื่อ
ทางโรงงานส่งจดหมายมาเตือนว่าส่งเด็กมาผิด
ที่และต้องการรับคืน คุณป้าและนายเอกอน พ่อ Konradoder Das Kind aus
โบตั๋น ผู้เขียน เป็นนามปากกาของ สุภา สิริสิงห ศิลปิน บุญธรรมของคอนราด รวมถึงหนูน้อยคิตตี้-จอม der Konservenbüchse หรือ Konrad or
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ก่อนหน้านี้มีผลงานเขียนเรื่องสั้นลงในนิตยสาร ให้กับโรงงาน ด้วยการสั่งสอนคอนราดให้ไม่ต้อง the Child out of the Tin หรือที่ อำ ภา
แก่นเซี้ยว เพื่อนนักเรียนและเพื่อนบ้านของ
โอตระกูล แปลไว้เป็นภาษาไทยอย่างเข้าใจ
หลายฉบับมาก่อน ตั้งแต่ พ.ศ. 2507 เป็นต้นมา
คอนราดจึงช่วยกันหาวิธีที่จะไม่ต้องคืนคอนราด
ง่ายและเห็นภาพคือ “เด็กกระป๋อง” นั้น
นอกจากเป็นนักเขียนเรื่องสั้น นวนิยาย ยังเป็นนักแปล
ภาพจาก www.khaosod.co.th เปิดปูมชีวิต “โบตั๋น” ผู้เขียน “ทองเนื้อเก้า” คอลัมน์ บุ๊กสโตร์ ผู้สื่อข่าวหรรษา วรรณกรรมเยาวชน นามปากกา ปิยตา วนนันทน์ รายชื่อหนังสือเล่ม คอนราดสามารถเปลี่ยนตัวเองได้ทันการณ์ทำาให้ พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1975 ด้วยภาษา
เชื่อฟังคำาสั่งของโรงงาน และเรียนรู้ความซุกซน
เยอรมัน ต่อมาอีก 4 ปี คือในปี ค.ศ. 1979
อื่นๆ ที่มีชื่อเสียง ได้แก่ ผู้หญิงคนนั้นชื่อบุญรอด ตะวันชิงพลบ
และผิดแผกไปจากเด็กกระป๋องทั่วไป ที่สุดแล้ว
หนังสือเล่มนี้ ได้รับรางวัล Mildred L.
ไผ่ต้องลม ทองเนื้อเก้า เกิดแต่ตม ตราไว้ในดวงจิต นวลนางข้างเขียง
Batchelder Award
ด้วยสองมือแม่นี้ที่สร้างโลก สุดแต่ใจจะไขว่คว้า กว่าจะรู้เดียงสา
เขาไม่ต้องตกไปอยู่ในมือของพ่อแม่ใหม่
86 87