Page 52 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 52

44

                     แบบอยางชาวพุทธที่ดี

                     หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล

                     พระประวัติ

                       หมอมเจาหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล ประสูติ เมื่อวันจันทร ที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ. 2438 เปน
               พระธิดาในสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ผูไดรับการยกยองวาเปนบิดาแหง
               ประวัติศาสตรไทย และหมอมเฉื่อย พระองคสิ้นชีพิตักษัยดวยโรคชรา เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2533

               รวมพระชันษาได 95 พรรษา

                       กรณียกิจดานพระพุทธศาสนา  สามารถสรุปได  ดังนี้
                       1. ทรงเปนที่ปรึกษาชมรมพุทธศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยเสด็จไปประทานความรู
               ดานพระพุทธศาสนา สัปดาหละ 2 ครั้ง และเปนที่ปรึกษาชมรมพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

                       2. ทรงเปนองคปาฐกถาและบรรยายวิชาการทางพระพุทธศาสนาทั้งในและตางประเทศ
                       3. ทรงเปนกรรมการบริหารและอุปนายกพุทธสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรม-

               ราชูปถัมภ
                       4. ทรงเปนรองประธานองคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก (พ.ส.ล.) ใน พ.ศ. 2496  และ

               ประธานองคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก ใน พ.ศ.  2507
                       5. ทรงมีงานนิพนธทางพระพุทธศาสนาหลายเรื่อง เชน หนังสือชื่อศาสนาคุณ หนังสือสอน

               ศาสนาพระพุทธศาสนาสําหรับเยาวชน เปนตน


               แบบอยางชาวพุทธที่ดี

                       (1)  ทรงเปนอุบาสิกาที่เครงครัด ตระหนักในหนาที่ของอุบาสิกาดวยการศึกษาปฏิบัติธรรม
                       (2)  ทรงเปนพหูสูต โดยศึกษาบาลี จนมีความรู ความเขาใจเปนอยางดี และมีผลงานวิชาการ

               ดานอื่น ๆ อีกทั้งดานสังคมสงเคราะห ประวัติศาสตร โบราณคดี เปนตน
                       (3)  ทรงเปนแบบอยางพลเมืองที่ดี ดวยการจงรักภักดี และพิทักษสมบัติล้ําคาของชาติ

               กลาวคือ เมื่อพระบิดาสิ้นพระชนม มีชาวตางชาติ เสนอซื้อผลงานนิพนธทางวิชาการของพระบิดาดวย
               ราคาสูง แตพระองคทรงแจงความจํานงบริจาคหนังสือใหแกรัฐบาล เพื่อเก็บไวเปนสมบัติของชาติและ
               เปนคลังความรูของประชาชน รัฐบาลในขณะนั้นจึงสรางหองสมุดขึ้นรองรับ เรียกวา หอดํารง
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57