Page 51 - ศาสนาและหน้าที่พลเมือง ม.ต้น
P. 51

43

                       2.  วิปสสนาภาวนา (การเจริญปญญา) เมื่อจิตของผูบําเพ็ญเพียรตั้งมั่นอยูในสมาธิจิตของ

               ผูบําเพ็ญเพียร ยอมมีกําลังอยูในสภาพที่นิ่มนวล ควรแกการวิปสสนาภาวนาตอไป
                       อารมณของวิปสสนาแตกตางจากอารมณของสมาธิ เพราะสมาธินั้น มุงใหจิตตั้งมั่นอยูใน

               อารมณหนึ่งแตอารมณเดียว โดยแนนิ่งอยูเชนนั้น ไมนึกคิดอะไร แตวิปสสนาไมใชใหจิตตั้งมั่นอยูใน
               อารมณเดียวนิ่งอยูเชนนั้น แตเปนจิตที่คิดใครครวญหาเหตุและผลในสภาวธรรมทั้งหลาย และสิ่งที่เปน

               อารมณของวิปสสนานั้นมีแตเพียงอยางเดียว คือ ขันธ 5 ซึ่งนิยมเรียกวา รูป - นาม โดยรูป มี 1 นาม นั้น
               มี  4  คือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึ่งนาม นั้น เปนเพียงสังขารธรรม เกิดจากการปรุงแตง

               แตเพราะอวิชชา คือ ไมรูเทาสภาวธรรม จึงทําใหเกิดความยึดมั่น เปนตัวเปนตน การเจริญวิปสสนา
               มีจิตพิจารณาเห็นสภาวธรรมทั้งหลาย คือ ขันธ 5 เปนอาการของพระไตรลักษณ คือ เปนอนิจจัง คือ

               ไมเที่ยง ทุกขัง คือ ลวนเปนทุกข อยูในสภาพเดิม ไมไดตองแปรเปลี่ยนไป และอนัตตา ไดแก ความ
               ไมใชตัวตน ไมใชสัตวบุคคล ไมใชสิ่งของ สรรพสิ่งทั้งหลายเพียงชั่วคราว เทานั้น เมื่อนานไปยอม
               เปลี่ยนแปลงกลับไปสูสภาวะเดิม สมาธิและวิปสสนา เปนทั้งเหตุและผลของกันและกัน และอุปการะ

               ซึ่งกันและกัน จะมีวิปสสนา ปญญา เกิดขึ้นโดยขาดกําลังสมาธิไมไดเลย


                       การเจริญวิปสสนาอยางงาย ๆ ประจําวัน
                       1. มีจิตใครครวญถึงมรณสติกรรมฐาน คือ ใครครวญถึงความตายเปนอารมณ เพื่อไมให

               ประมาทในชีวิต ไมมัวเมา เรงทําความดี และบุญกุศล เกรงกลัวตอบาปที่จะติดตามไปในภพหนา
                       2. มีจิตใครครวญถึงอสุภกรรมฐาน ไดแก สิ่งที่ไมสวย ไมงาม เชน ซากศพ รางกายคนที่เปน

               บอเกิดแหงตัณหาราคะ กามกิเลส วาเปนของสวยงาม เปนที่เจริญตาเจริญใจ ไมวารางกายของตนเอง
               และของผูอื่นก็ตาม แทจริงแลวเปนอนิจจัง คือ ไมเที่ยงแท แนนอน วัน เวลา ยอมพรากจากความ

               สวยงามจนเขาสูวัยชรา ซึ่งจะมองหาความสวยงามใด ๆหลงเหลืออยูไมไดเลย
                       3. มีจิตใครครวญถึงกายคตานุสสติกรรมฐาน เรียกกันวา กายคตาสติกรรมฐาน จิตใครครวญ

               ผม ขน เล็บ หนัง ฟน พิจารณาใหเห็นความโสโครกของรางกาย เพื่อใหนําไปสูการละสักกายทิฏฐิ คือ
               ความเห็นผิดในรางกายของตน

                       4. มีจิตใจใครครวญถึงธาตุกรรมฐาน คือ การพิจารณาวา รางกายของเราและของผูอื่น
               ไมใชตัวของเราแตอยางใดเลย เปนแตเพียงธาตุ 4 ที่มาประชุม เกาะกุม รวมกันเพียงชั่วคราว ถึงเวลา

               เกาแกแลว แตกสลายตายไปกลับไปสูความเปนธาตุตาง ๆ ในโลกตามเดิม
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56