Page 101 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 101

101



                                 ถาปวยเปนโรคไขหวัดใหญควรไปรับการตรวจรักษาจากแพทย เพราะจะไมหายงาย ๆ เหมือน
                   โรคหวัดธรรมดา สําหรับการปฏิบัติตนหลังการตรวจรักษาก็ควรพักผอนมาก ๆ งดการทํางานหนัก หรือการออก
                   กําลังกาย สวมเสื้อผาใหรางกายอบอุน อยาอาบน้ําเย็น ดื่มน้ําอุนมาก ๆ เพื่อชวยลดไข รับประทานอาหารออน ๆ

                   ใชผาชุบน้ําธรรมดาเช็ดตัวเมื่อเวลามีไข และรับประทานยาตามแพทยสั่ง
                                 ในการปองกันโรคนี้ก็เหมือนกับการปองกันโรคหวัดธรรมดาและในปจจุบันนี้ก็มีวัคซีน

                   ปองกันโรคไขหวัดใหญ ซึ่งผูที่ควรไดรับวัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญ ไดแก ผูสูงอายุ ผูปวยดวยโรคเรื้อรังตาง
                   ๆ เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคไต โรคเลือด โรคหัวใจ โรคปอด เปนตน ผูปวยติดเชื้อเอชไอวี เด็กที่มีโรค

                   เรื้อรังเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ผูที่กําลังจะเดินทางไปตางประเทศและผูที่ทํางานบริการสาธารณชน
                                 โรคไขหวัดใหญ ติดตอเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจไดรวดเร็ว มักระบาดใน     ฤดูฝน
                   ไขหวัดใหญมีหลายชนิด บางชนิดรุนแรงทําใหผูปวยเสียชีวิตได

                                 สาเหตุ  เกิดจากเชื้อไวรัส มีอยู 3 ชนิด คือ ชนิดเอ ชนิดบี และชนิดซี บางครั้งใชชื่อตามเมืองที่
                   ระบาด เชน ไขหวัดฮองกง หรือไขหวัดใหญ 2009 เปนตน
                                 การติดตอ  เหมือนกับไขหวัดธรรมดา  ติดตอโดยการสัมผัสโดยตรง ดวยการไอหรือจามรด

                   กันหายใจเอาเชื้อโรคที่ปะปนอยูในอากาศและติดตอทางออมโดยการใชสิ่งของ เสื้อผา ปะปนกับผูปวย
                                 ระยะฟกตัวของโรค  ประมาณ 1-3 วัน สําหรับเด็กเล็กอาจแพรเชื้อไดนานถึง 7 วัน

                                 อาการ  มีอาการรุนแรงมากกวาไขหวัดธรรมดา มักเกิดขึ้นทันทีทันใด ดวยการปวดศีรษะ
                   หนาวสั่น มีไข ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ออนเพลีย เบื่ออาหาร
                                 การรักษาพยาบาล  ไขหวัดใหญไมมียารักษา ตองรักษาตามอาการของโรคและปองกันการเกิด

                   โรคแทรกซอน
                                 การปฏิบัติตน  เมื่อมีอาการโรค ควรรักษาตามอาการของโรค โดยปรึกษาแพทยและ

                   รับประทานยาตามแพทยสั่ง พักผอนใหมาก ๆ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู ควรทําใหรางกายอบอุน เชน การ
                   นอนหมผา เวลาไอหรือจามควรใชผาหรือกระดาษปดปากปดจมูก เพื่อปองกันเชื้อโรคไมใหแพรกระจายไปสู
                   ผูอื่น

                                 การปองกันและควบคุมโรค  ควรปฏิบัติดังนี้
                                 1.  ไมควรคลุกคลีกับผูปวย ควรแยกใหอยูตางหาก

                                 2.  ไมใชของใชรวมกับผูปวย
                                 3.  เวลาไอหรือจามควรปดปาก ปดจมูก
                                 4.  รักษารางกายใหแข็งแรงอยูเสมอ

                   โรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009

                                 ไขหวัดใหญสายพันธุใหม 2009 หรือไขหวัดใหญสายพันธุใหมชนิดเอ (H1N1) ที่แพรระบาด
                   เปนปญหาสาธารณสุขของประเทศไทยอยูในขณะนี้ ทําใหมีผูเสียชีวิตแลวหลายสิบรายและมี        ผูติดเชื้อกวาพัน

                   ราย (ขอมูลเดือนสิงหาคม 2552)
                                 ปจจุบันการแพรระบาดของโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ (เอช1 เอ็น1) กําลังขยายตัว
                   ไปทั่วโลก และขณะนี้ประเทศไทยพบการระบาดภายในประเทศแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งสถานศึกษาและสถาน
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106