Page 96 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 96

96



                                 2.  หากเชื้อที่ไดรับมีอาการรุนแรงมากก็จะทําใหสัตวเลี้ยงตายไดภายใน 2 วัน
                                 ปจจุบันมีการระบาดของไขหวัดมากกลับมาอีกครั้ง โดยเชื้อโรคไดแพรไปทั่วโลก          เกิด
                   การระบาดของเชื้อไขหวัดนกชนิด H5N1 ในไกและแพรกระจายสูคนทําใหมีผูเสียชีวิตจํานวนมากทั่วไป จนมีการ

                   เฝาระวังโดยหากทราบวามีไกตายดวยเชื้อไขหวัดนก จะตองรีบแจงเจาหนาที่รัฐและมีการควบคุมการแพรเชื้อโรค
                   ดวยการทําลายไกในพื้นที่นั้น ๆ ทันที เชน การฝงกลบและฉีดพนสารฆาเชื้อเพื่อตัดวงจรการแพรระบาดสูคน

                   ตอไป
                                 โรคไขหวัดนก เปนโรคติดตอของสัตวปก ตามปกติโรคนี้ติดตอมายังคนไดไมงายนัก แตคนที่

                   สัมผัสใกลชิดกับสัตวที่เปนโรคอาจติดเชื้อได
                                 สาเหตุ
                                 เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดเอ็ชไฟวเอ็นวัน (H5N1) พบในนก ซึ่งเปนแหลงเชื้อโรคในธรรมชาติ

                   โรคอาจแพรมายังสัตวปกตาง ๆ ได เชน ไกที่เลี้ยงอยูในฟารม เลี้ยงตามบานและไกชน รวมทั้งเปดไลทุงดวย
                                 ระยะฟกตัว
                                 ระยะฟกตัวในคน 1 ถึง 8 วัน


                                 อาการ
                                 ผูปวยมีอาการคลายไขหวัดใหญ ไขสูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกลามเนื้อ ออนเพลีย

                   เจ็บคอ ไอ ผูปวยเด็กเล็ก ผูสูงอายุ หรือผูที่มีโรคประจําตัว หากมีภูมิคุมกันไมดี อาจมีอาการรุนแรงได โดยจะมี
                   อาการหอบ หายใจลําบาก เนื่องจากปอดอักเสบรุนแรง








                                 การติดตอ
                                 โดยการสัมผัสซากสัตวปกที่ปวยหรือตาย เชื้อที่อยูในน้ํามูก น้ําลาย และมูลสัตวปวย อาจติด
                   มากับมือ และเขาสูรางกายทางเยื่อบุของจมูกและตา ผูที่เสี่ยงตอโรคไขหวัดนก ไดแก ผูที่ทํางานในฟารมสัตวปก

                   ผูที่ฆาหรือชําแหละสัตวปก ผูเลี้ยงสัตวปกในพื้นที่ที่เกิดโรคไขหวัดนกระบาด
                                 การปองกัน
                                 1.  รับประทานอาหารประเภทไกและไขที่ปรุงสุกเทานั้น โดยเฉพาะชวงที่มีการระบาดของ

                   โรค
                                 2.  ควรเลือกซื้อไกสดที่ไมมีลักษณะบงชี้วาอาจตายดวยโรคติดเชื้อ เชน เนื้อมีสีคล้ํา       มีจุด

                   เลือดออก สําหรับไข ควรเลือกฟองที่ไมมีมูลไกติดเปอนที่เปลือกไข กอนปรุงควรนํามาลางใหสะอาด
                                 3.  ไมเลนคลุกคลีหรือสัมผัสตัวสัตว น้ํามูก น้ําลาย มูลของไกและสัตวปก โดยเฉพาะสัตวที่
                   ปวยหรือตาย รวมทั้งบริเวณที่เลี้ยงสัตวปกดวย
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101