Page 99 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 99

99



                                 4.  ถาทองเสียอยางรุนแรง ตองรีบนําสงแพทยดวน
                                 การปองกัน

                                 1.  รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม ๆ และดื่มน้ําสะอาด เชน น้ําตมสุก ภาชนะที่ใสอาหาร
                   ควรลางสะอาดทุกครั้งกอนใช หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง สุก ๆ ดิบ ๆ อาหารที่ปรุงทิ้งไวนาน ๆ อาหารที่มี

                   แมลงวันตอม
                                 2.  ลางมือฟอกสบูใหสะอาดทุกครั้งกอนกินอาหารหรือกอนปรุงอาหารและหลัง     เขาสวม
                                 3.  ไมเทอุจจาระ ปสสาวะและสิ่งปฏิกูลลงในแมน้ําลําคลอง หรือทิ้งเรี่ยราด ตองถายลงใน

                   สวมที่ถูกสุขลักษณะและกําจัดสิ่งปฏิกูลโดยการเผาหรือฝงดิน เพื่อปองกันการแพรของเชื้อโรค
                                 4.  ระวังไมใหน้ําเขาปาก เมื่อลงเลนหรืออาบน้ําในลําคลอง
                                 5.  หลีกเลี่ยงการสัมผัสผูปวยที่เปนอหิวาตกโรค

                                 6.  สําหรับผูที่สัมผัสโรคนี้ ควรรับประทานยาที่แพทยใหจนครบ
                                 การรักษาทางการแพทย
                                 การรักษาฉุกเฉิน คือ การรักษาภาวะขาดน้ําโดยดวน ดวยการใหน้ําและเกลือแรทดแทนการ

                   สูญเสียทางอุจจาระ ถาผูปวยอยูในภาวะขาดน้ํารุนแรง ตองใหน้ําทางเสนโลหิตอยางเรงดวน จนกวาปริมาณน้ําใน
                   รางกาย ความดันโลหิตและชีพจรจะกลับสูภาวะปกติ
                                 สําหรับผูปวยในระดับปานกลางทั่วไป การใหดื่มน้ําเกลือแรทดแทนจะใหผลดี สวนผสมของ

                   น้ําเกลือแรสูตรมาตรฐานไดแก กลูโคส 20 ก. โซเดียมคลอไรด 3.5 ก. โปแตสเซียม 1.5 ก. และโตรโซเดียมซิเทรต
                   2.9 ก. หรือโซเดียมไบคารบอเนต 2.5 ก. ตอน้ําสะอาด 1 ลิตร


                   โรคชิคุนกุนยา (Chikungunya)
                                 การติดเชื้อ Chikungunya  virus  เดิมมีรกรากอยูในทวีปอาฟริกา ในประเทศไทยมีการตรวจพบ
                   ครั้งแรกพรอมกับที่มีไขเลือดออกระบาดและเปนครั้งแรกในทวีปเอเชีย เมื่อ พ.ศ. 2501 โดย Prof.W McD Hamnon

                   แยกเชื้อชิคุนกุนยา ไดจากผูปวยโรงพยาบาลเด็ก กรุงเทพมหานคร




                       ลักษณะโรค

                                 โรคชิคุนกุนยา เปนโรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยาที่มียุงลายเปนพาหะนําโรค มีอาการคลายไข
                   แดง แตตางกันที่ไมมีการรั่วของพลาสมาออกนอกเสนเลือด จึงไมพบผูปวยที่มีอาการรุนแรงมากจนถึงมีอาการ

                   ช็อก
                       สาเหตุ
                                เกิดจากเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya virus) โดยมียุงลาย เปนพาหะนําโรค


                       วิธีการติดตอ
                                 ติดตอกันไดโดยมียุงลาย Aedes  aegypti เปนพาหะนําโรคที่สําคัญ เมื่อยุงลายตัวเมียกัดและดูด

                   เลือดผูปวยที่อยูในระยะไขสูง ซึ่งเปนระยะที่มีไวรัสอยูในกระแสเลือด เชื้อไวรัสจะเขาสูกระเพาะยุง และเพิ่ม
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104