Page 146 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 146

145




                     (Cumulonimbus) ท้องฟ้าจะมืดครึม เกิดพายุฝนฟ้ าคะนองอย่างรุนแรu3591 . เราเรียกบริเวณดังกล่าวว่า
                     “แนวพายุฝน” (Squall Line)

                            3.3 แนวปะทะของมวลอากาศซ้อน (Occluded Front)

                            เมื่อมวลอากาศเย็นเคลื่อนที่ในแนวทางติดกับแผ่นดิน  จะดันให้มวลอากาศอุ่นใกล้กับผิวโลก

                     เคลื่อนที่ไปในแนวเดียวกันกับมวลอากาศเย็น มวลอากาศอุ่นจะถูกมวลอากาศเย็นซ้อนตัวให้ลอยสูงขึ้น
                     และเนื่องจากมวลอากาศเย็นเคลื่อนตัวได้เร็วกว่าจึงท าให้มวลอากาศอุ่นช้อนอยู่บนมวลอากาศเย็น  เรา

                     เรียกลักษณะดังกล่าวได้อีกแบบว่าแนวปะทะของมวลอากาศปิด ลักษณะของปรากฏการณ์ดังกล่าวจะ

                     ท าให้เกิดเมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) และท าให้เกิดฝนตก หรือพายุฝนได้เช่นกัน
                            3.4 แนวปะทะมวลอากาศคงที่ (Stationary Front)

                            นอกจากแนวปะทะอากาศดังกล่าวมาแล้วนั้นจะมีลักษณะแนวปะทะอากาศของมวลอากาศ

                     คงที่อีกชนิดหนึ่ง (Stationary Front) ซึ่งเป็นแนวปะทะของมวลอากาศที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวล
                     อากาศอุ่นและมวลอากาศเย็นเข้าหากัน และจากสภาพที่ทั้งสองมวลอากาศมีแรงผลักดันเท่ากัน จึงเกิด

                     ภาวะสมดุลของแนวปะทะอากาศขึ้น แต่จะเกิดในชั่วระยะเวลาใดเวลาหนึ่งเท่านั้น เมื่อมวลอากาศใดมี

                     แรงผลักดันมากขึ้นจะท าให้ลักษณะของแนวปะทะอากาศเปลี่ยนไปเป็นแนวปะทะอากาศแบบอื่น  ๆ

                     ทันที
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151