Page 198 - วิทยาศาสตร์ ม.ต้น
P. 198

197




                            1.3  ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร
                                     ชนิดของสาร              อุณหภูมิ                ความดัน

                            ความสามารถในการละลายของสาร(Solubility)ขึ้นอยู่กับ

                               ชนิดของสาร เช่น โซเดียมคลอไรด์(Nacl)  แต่บางชนิดเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นก็จะมี

                     ความสามารถในการละลายลดลง เช่น ก๊าซทุกชนิด แคลเซียมโครเมต(         )
                                 ความดัน ในกรณีที่ก๊าซละลายในของเหลว ถ้าความดันสูงก๊าซจะละลายได้ดี เช่น ก๊าซ

                     คาร์บอนไดออกไซค์ละลายในน ้าอัดลม ถ้าเราเพิ่มความดันปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ที่ละลายใน

                     น ้าจะเพิ่มขึ้น แต่ถ้าเราเปิดฝาขวด(ลดความดัน) จะท าให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์หนีจากของเหลว นั่น
                     คือก๊าซละลายได้น้อยลง

                            1.4  ความเข้มข้นของสารละลาย

                            ความเข้มข้นของสารละลายเป็นค่าที่บอกให้ทราบว่าในสารละลายหนึ่งๆ มีปริมาณตัวถูก
                     ละลายจ านวนเท่าไหร่ และการบอกความเข้มข้นของสารละลาย สามารถบอกได้หลายวิธีดังนี้

                            1.  ร้อยละ แบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ

                                1.1 ร้อยละโดยมวลต่อมวลหรือเรียกสั้น ๆ ว่าร้อยละโดยมวล เป็นหน่วยที่บอกมวลของตัว
                                   ถูกละลายที่มีอยู่ในสารละลาย 100 หน่วยมวลเดียวกัน (กรัม กิโลกรัม) เช่น สารละลาย

                                   ยูเรียเข้มข้นร้อยละ 25  โดยมวล หมายความว่า ในสารละลายยูเรีย 100  กรัม มียูเรีย

                                   ละลายอยู่ 25 กรัม หรือในสารละลายยูเรีย 100 กิโลกรัม มียูเรียละลายอยู่ 25 กิโลกรัม






                                1.2 ร้อยละโดยปริมาตรต่อปริมาตรหรือเรียกสั้นๆ ว่า ร้อยละโดยปริมาตร เป็นหน่วยที่

                                   บอกปริมาตรของตัวถูกละลายที่มีอยู่ในสารละลาย 100  หน่วยปริมาตรเดียวกัน

                                                                              3
                                                        3
                                   (ลูกบาศก์เซนติเมตร (cm )  ลูกบาศก์เดซิเมตร (dm )  หรือลิตร)  เช่น สารละลายเอทา
                                                                                                    3
                                   นอลในน ้าเข้มข้นร้อยละ 20 โดยปริมาตร หมายความว่าในสารละลาย 100 cm  มีเอทา
                                                     3
                                   นอลละลายอยู่ 20 cm  เป็นต้น







                                1.3 ร้อยละโดยมวลต่อปริมาตร เป็ นหน่วยที่บอกมวลของตัวถูกละลายที่มีอยู่ใน

                                   สารละลาย 100 หน่วยปริมาตร (หน่วยของมวลและของปริมาตรจะต้องสอดคล้องกัน
                                                                                                      3
                                                                    3
                                   เช่น กรัมต่อลูกบาศก์เซ็นติเมตร (g/cm ) กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (kg/dm ) เป็น
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203