Page 78 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 78

78 | ห น า



                           “เมื่อถึงตอนน้ําตื้นพวกฝพายตางชวยกันถอ ทางน้ําคอยกวางออกไปเปนหนองน้ําใหญแต
                  น้ําสงบนิ่ง  นาประหลาด  ปารนแนวไปจากริมหนอง  ปลอยใหตนหญาสีเขียวจําพวกออคอยรับแสง

                  สะทอนสีน้ําเงินแกจากทองฟา ปุยเมฆสีมวงลอยไปมาเหนือศีรษะ  ทอดเงาลงมาใตใบบัวและดอกบัว

                  สีเงิน  เรือนเล็กหลังหนึ่งสรางไวบนเสาสูง  แลดูดําเมื่อมมาแตไกล  ตัวเรือนมีตนชะโอนสองตนซึ่งดู
                  เหมือนจะขึ้นอยูในราวปาเบื้องหลัง เอนตนลงเหนือหลังคา  ทั้งตนและใบคลายจะเปนสัญญาณวามี

                  ความเศราโศกสุดประมาณ”

                  จากทองสุก  เกตุโรจน “ทะเลใน” แปลและเรียบเรียงจากเรื่อง “The  Lagoon”
                  ของ Joseph  Conrad การเขียนแบบสรางสรรค มหาวิทยาลัยรามคําแหง  2519

                           9.3   แบบอุปมา   หรือที่เรียกวาอุปมาโวหาร  คือโวหารที่ยกเอาขอความมาเปรียบเทียบ

                  เพื่อประกอบความใหเดนชัดขึ้น   ในกรณีที่หาถอยคํามาอธิบายใหเขาใจไดยาก  เชน  เรื่องที่เปน

                  นามธรรมทั้งหลายการจะทําใหผูอานเขาใจเดนชัด  ควรนําสิ่งที่มีตัวตนหรือสิ่งที่คิดวาผูอานเคยพบมา

                  เปรียบเทียบหรืออาจนํากิริยาอาการของสิ่งตางๆ มาเปรียบเทียบก็ได  เชน เย็นเหมือนน้ําแข็ง  ขาว
                  เหมือนดั่งสําลี  ไวเหมือนลิง บางทีอาจนําความรูสึกที่สัมผัสไดทางกายมาเปรียบเทียบเปนความรูสึก

                  ทางใจ  เชน  รอนใจดังไฟเผา  รักเหมือนแกวตา  เปนตน  โวหารแบบนี้มักใชแทรกอยูในโวหารแบบ

                  อื่น  ตัวอยางอุปมาโวหาร เชน ความสวยเหมือนดอกไม เมื่อถึงเวลาจะรวงโรยตามอายุขัย  แตความดี
                  เหมือนแผนดิน ตราบใดที่โลกดํารงอยู  ผืนดินจะไมมีวันสูญหายไดเลย  ความดีจึงเปนของคูโลก  และ

                  ถาวรกวาความสวย ควรหรือไมถาเราจะหันมาเทิดทูนความดีมากกวาความสวย  เราจะไดทําแตสิ่งที่

                  ถูกเสียที

                           9.4   แบบสาธก หรือสาธกโวหาร สาธก หมายถึง ยกตัวอยางมาอางใหเห็น สาธกโวหาร
                  จึงหมายถึงโวหารที่ยกตัวอยางมาประกอบอาง  เพื่อใหผูอานเขาใจเรื่องไดชัดเจนขึ้น  ตัวอยางที่ยกมา

                  อาจจะเปนตัวอยางบุคคล เหตุการณหรือนิทาน  โวหารแบบนี้มักแทรกอยูโวหารแบบอื่น เชนเดียวกับ

                  อุปมาโวหาร ตัวอยาง สาธกโวหาร เชน
                           “....พึงสังเกตการบูชาในทางที่ผิดใหเกิดโทษ ดังตอไปนี้

                           ในสํานักอาจารยทิศาปาโมกข เมืองตักศิลา มีเด็กวัยรุนเปนลูกศิษยอยูหลายคน  เรียนวิชา

                  ตางกันตามแตเขาถนัด  มีเด็กวัยรุนคนหนึ่งชื่อ สัญชีวะ อยูในหมูนั้นเรียนเวทยมนตเสกสัตวตายใหฟน
                  คืนชีพไดตามธรรมเนียมการเรียนเวทยมนตตองเรียนผูกและเรียนแกไปดวยกัน แตเขาไมไดเรียนมนต

                  แก”

                                มาวันหนึ่ง  สัญชีวะกับเพื่อนหลายคนพากันเขาปาหาฟนตามเคย  ไดพบเสือโครงตัว

                  หนึ่งนอนตายอยู “นี่แนะเพื่อน เสือตาย” สัญชีวะเอยขึ้น “ขาจะเสกมนตใหเสือตัวนี้ฟนคืนชีพขึ้นคอย
                  ดูนะเพื่อน” “แนเทียวหรือ”  เพื่อนคนหนึ่งพูด “ลองปลุกมันใหคืนชีพลุกขึ้นดูซิ  ถาเธอสามารถ” แลว

                  เพื่อนๆ คน อื่นๆ ปนขึ้นตนไมคอยดู “แนซีนา” สัญชีวะยืนยัน แลวเริ่มรายมนตเสกลงที่รางเสือ พอเจา
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83