Page 80 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 80
80 | ห น า
กอนเสาสามกอนหรือสามเสานี้ เมื่อคิดไปอีกทีก็เปนคติอันดีที่เรานาจะยึดเปนเครื่องเตือนใจ
ภาษิตจีนมีวา คนเราจะมีชีวิตมั่นคง จะตองนั่งบนมาสามขา มาสามขาตามภาษิตจีนนั้นหมายถึง สิ่ง
สําคัญสามอยางที่พยุงชีวิตเรา สิ่งสําคัญนั้นจะเปนอะไรก็ไดแตตองมีสามขา ถามีเพียงสองชีวิตก็ยัง
ขาดความมั่นคง ภาษิตจีนนี้ฟงคลายๆ “สามเสา” คือวาชีวิตของเราตั้งอยูบนกอนสามกอน จึงมีความ
มั่นคง
ก็กอนเสาทั้งสามสําหรับชีวิตนี้คืออะไร ตางคนอาจหากอนเสาทั้งสามสําหรับชีวิตของตัวเอง
ได บางทานอาจยึดพระไตรลักษณ คือ ความทุกข 1 ความไมเที่ยง 1 และความไมใชตัวของเรา 1 เปน
การยึดเพื่อทําใจมิใหชอกช้ําขุนมัวในยามที่ตกทุกขไดยาก หรือจะใชเปนเครื่องเตือนมิใหเกิดความ
ทะเยอทะยานตน ทําลายสันติสุขของชีวิตก็ได บางคนยึดไตรสิกขาเปนกอนเสาทั้งสามแหง การยัง
ชีวิตคือ ศีล สมาธิ ปญญา เปนหลัก
2. การเขียนยอความ คือ การเก็บใจความสําคัญของเรื่องที่อานหรือฟงมา
เรียบเรียงใหมอยางยอๆ โดยไมทําใหสาระสําคัญของเรื่องนั้นคลาดเคลื่อน หรือขาดหายไป
การยอความเปนวิธีการหนึ่งที่ชวยใหเราบันทึกเรื่องราวตางๆ ที่ไดอานหรือฟงมานั้นไวโดย
ยอๆ โดยเก็บรวบรวมไวเพื่อมิใหหลงลืม หรือเพื่อนําเรื่องที่บันทึกไวนั้นไปใชในโอกาสตางๆ
นอกจากนั้นการยอความยังชวยใหถายทอดเรื่องราวตอไปยังผูอื่นไดถูกตองรวดเร็วอีกดวย
หลักการยอความ
การยอความมีหลักการทั่วไปดังตอไปนี้
1. ยอความตามรูปแบบการยอความแบบตางๆ กําหนดไวในหัวขอแบบการยอความ
2. อานเรื่องราวที่จะยออยางนอย 2 เที่ยว เที่ยวแรกจับใจความใหไดวา เรื่องอะไร หรือใคร
ทําอะไรที่ไหน อยางไร เที่ยวที่สองจับใจความใหละเอียดขึ้น และพิจารณาวาอะไรเปนใจความสําคัญ
อะไรเปนใจความประกอบหรือพลความ หรือขอความที่เสริมแตงใจความสําคัญใหเดนชัด ชัดเจน
อะไรเปนกลวิธีการแตงถาจับใจความไมไดใหอานอีกจนกวาจะสามารถจับใจความสําคัญได
3. พิจารณาเก็บเฉพาะใจความสําคัญ หรือเก็บใจความประกอบที่จําเปน
4. นําเฉพาะใจความที่เก็บไวมาเรียบเรียบใหมดวยภาษาของตนเองตามรูปแบบที่กําหนด
5. ความสั้นยาวของการยอความไมสามารถกําหนดเปนอัตราสวนได ขึ้นอยูกับจุดประสงค
ของการยอและลักษณะของเรื่องที่ยอ ลักษณะของเรื่องก็คือเรื่องใดที่มีใจความประกอบมากถาเราเก็บ
เฉพาะใจความสําคัญก็ยอไดสั้น ถาเก็บใจความประกอบที่จําเปนดวย อัตราสวนความยาวจะเพิ่มขึ้น
ดังนั้นจึงไมมีเกณฑกําหนดเรื่องอัตราสวนของยอความ