Page 77 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 77

ห น า  | 77



                           6.6  ผูกประโยคใหกระชับ รัดกุม เชน “ถาเจาเดินชาเชนนี้ เมื่อไรจะไปถึงที่ที่จะไปสักที”
                  ควรใชใหกระชับวา  “ถาเจาเดินชาเชนนี้เมื่อไรจะไปถึงที่หมายสักที”  หรือประโยควา  “อันธรรมดา

                  คนเราเกิดมาในโลกนี้ บางก็เปนคนดี บางก็เปนคนชั่ว” ควรใชวา “คนเรายอมมีทั้งดีและชั่ว” เปนตน

                         7.  การใชหมายเลขกํากับ

                                หัวขอในเรียงความจะไมใชหมายเลขกํากับ  ถาจะกลาวแยกเปนขอๆ  จะใชวา
                  ประการที่  1........ประการที่  2.............หรือประเภทที่  1..............ประเภทที่  2.............แตจะไมใชเปน

                  1............2............เรียงลําดับ แบบการเขียนทั่วไป

                         8.  การแบงวรรคตอนและเครื่องหมายวรรคตอน
                           เครื่องหมายวรรคตอน  เชน  มหัพภาค  (.)  อัฒภาค  (;)  จุลภาค  (,)  นั้น  ไทย

                  เลียนแบบฝรั่งมาจะใชหรือไมใชก็ได  ถาใชตองใชใหถูกตอง  ถาไมใชก็ใชแบบไทยเดิม  คือ

                  การเวนวรรคตอนโดยเวนเปนวรรคใหญ วรรคนอย ตามลักษณะประโยคที่ใช
                         9.  สํานวนโวหาร

                           สํานวนกับโวหารเปนคําที่มีความหมายอยางเดียวกันนํามาซอนกัน  หมายถึง  ชั้นเชิงใน

                  การเรียบเรียงถอยคํา ในการเขียนเรียงความสํานวนโวหารที่ใชมี 5 แบบคือ

                           9.1  แบบบรรยาย  หรือที่เรียกกันวาบรรยายโวหาร  เปนโวหารเชิงอธิบายหรือเลาเรื่อง
                  อยางถี่ถวนโวหารแบบนี้เหมาะสําหรับเขียนเรื่องประเภทใหความรู  เชน  ประวัติ  ตํานาน  บันทึก

                  เหตุการณ ฯลฯ ตัวอยาง บรรยายโวหาร เชน

                           “ขณะที่เราขับรถขึ้นเหนือไปนครวัด เราผานบานเรือนซึ่งประดับดวยธงสีน้ําเงินและแดง

                  ไวนอกบานเราไปหยุดที่หนาวัด ซึ่งประตูทางเขาตกแตงดวยดอกไมและเครือเถาไม ในเขตวัดสงฆหม
                  จีวรสีสมสนทนาปราศรัยกับผูคนที่ไปนมัสการอยูในปะรําไมปลูกขึ้นเปนพิเศษ  ความประสงคที่เรา

                  ไปหยุดที่วัดก็เพื่อกอพระทรายอันเปนเรื่องที่สําคัญที่สุดในวันขึ้นปใหมตามศรัทธาของ

                  พุทธศาสนิกชน  การกอพระทรายเปนพิธีบุญ  อธิษฐานขอพรอยางหนึ่ง งานเทศกาลนี้เปนเวลาที่วัด
                  ทุกๆ  วัด  จะตองเก็บกวาดใหสะอาดที่สุด  มีการสรงน้ําพระพุทธรูปเปนประจําปเพื่อขอใหฝนตก

                  โดยเร็ว” จาก  สมโรจน   สวัสดิกุล   ณ   อยุธยา  “วันปใหมที่นครวัด”  งานเทศกาลในเอเชีย  เลม  1

                  โครงการความรวมมือทางดานการพิมพ ชุดที่ 2 ศูนยวัฒนธรรมแหงเอเชียของยูเนสโก
                           9.2  แบบพรรณนา  หรือที่เรียกวา พรรณนาโวหาร คือโวหารที่กลาวเปนเรื่องราวอยาง

                  ละเอียดใหผูอานนึกเห็นเปนภาพ โดยใชถอยคําที่ทําใหผูอานเกิดภาพในใจ  มโนภาพขึ้น  โวหารแบบ

                  นี้สําหรับชมความงามของบานเมือง  สถานที่  บุคคล  เกียรติคุณ  คุณความดีตางๆ  ตลอดจนพรรณนา

                  อานุภาพของกษัตริยและพรรณนาความรูสึกตางๆ เชน รัก โกรธ แคน ริษยา โศกเศรา เปนตน ตัวอยาง
                  พรรณนาโวหาร เชน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82