Page 76 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 76

76 | ห น า



                                 2.  สัมพันธภาพ คือการเรียบเรียงขอความในยอหนาใหเกี่ยวเนื่องสัมพันธกัน มีการ
                  ลําดับความอยางมีระเบียบ  นอกจากนี้  ยังควรมีความสัมพันธกับยอหนาที่มีมากอนหรือยอหนาที่

                  ตามมาดวย

                                 3.   สารัตถภาพ   คือการเนนความสําคัญของยอหนาแตละยอหนาและของเรื่อง
                  ทั้งหมดโดยใชประโยคสั้นๆ สรุปกินความทั้งหมด อาจทําไดโดยการนําประโยคใจความสําคัญมาไว

                  ตอนตนหรือตอนทาย ยอหนา หรือใชสรุปประโยคหรือวลีที่มีลักษณะซ้ําๆ กัน

                         5.  การเชื่อมโยงยอหนา

                           การเชื่อมโยงยอหนา ทําใหเกิดสัมพันธภาพระหวางยอหนา  การเรียงความเรื่องหนึ่งยอม
                  ประกอบดวยหลายยอหนา  การเรียงลําดับยอหนาตามความเหมาะสมจะทําใหขอความเกี่ยวเนื่องเปน

                  เรื่องเดียวกันวิธีการเชื่อมโยงยอหนาแตละยอหนาก็เชนเดียวกับการจัดระเบียบความคิดในการวาง

                  โครงเรื่อง ซึ่งมีดวยกัน 4 วิธีคือ
                           5.1  การลําดับยอหนาตามเวลา  อาจลําดับตามเวลาในปฏิทินหรือตามเหตุการณที่เกิดขึ้น

                  กอนไปยังเหตุการณที่เกิดขึ้นภายหลัง

                           5.2  การลําดับยอหนาตามสถานที่ เรียงลําดับขอมูลตามสถานที่หรือตามความเปนจริงที่
                  เกิดขึ้น

                           5.3  การลําดับยอหนาตามเหตุผล อาจเรียงลําดับจากเหตุไปหาผล หรือผลไปหาเหตุ

                         6.  สํานวนภาษา

                           6.1  ใชภาษาใหถูกหลักภาษา  เชน  การใชลักษณะนาม   ปากกาใชวา  “ดาม”  รถใชวา
                  “คัน” พระภิกษุใชวา “รูป” เปนตน นอกจากนี้ไมควรใชสํานวนภาษาตางประเทศ เชน

                           ขณะที่ขาพเจาจับรถไฟไปเชียงใหม ควรใชวา ขณะที่ขาพเจาโดยสารรถไฟไปเชียงใหม

                           บิดาของขาพเจาถูกเชิญไปเปนวิทยากร ควรใช บิดาของขาพเจาไดรับเชิญไปเปนวิทยากร


                           6.2  ไมควรใชภาษาพูด เชน ดีจัง เมื่อไหร ทาน ฯลฯ ควรใชภาษาเขียน ไดแก ดีมาก

                  เมื่อไร รับประทาน

                           6.3  ไมควรใชภาษาแสดง เชน พน ฝอย แจวอาว สุดเหวี่ยง ฯลฯ
                           6.4  ควรหลีกเลี่ยงการใชคําศัพทยากที่ไมจําเปน เชน ปริเวทนากร ฯลฯ ซึ่งมีคําที่งายกวา

                  ที่ควรใชคือคําวา  วิตก  หรือใชคําที่ตนเองไมทราบความหมายที่แทจริง  เชน  บางคนใชคําวาใหญโต

                  รโหฐาน คําวา รโหฐาน แปลวา ที่ลับ ที่ถูกตองใช ใหญโตมโหฬาร เปนตน

                           6.5  ใชคําใหถูกตองตามกาลเทศะและบุคคล เชน คําสุภาพ คําราชาศัพท เปนตน
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81