Page 79 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 79

ห น า  | 79



                  เสือฟนคืนชีพขึ้นยืนรูสึกหิว มองเห็นสัญชีวะพอเปนอาหารแกหิวได จึงสะบัดแยกเขี้ยวอวดสัญชีวะ
                  และคํารามวิ่งปราดเขากัดกานคอสัญชีวะลมตายลง

                                เมื่ออาจารยไดทราบขาวก็สลดใจและอาลัยรักในลูกศิษยมาก จึงเปลงอุทานขึ้นวา “นี่

                  แหละผลของการยกยองในทางที่ผิด  ผูยกยองคนเลวราย ยอมรับนับถือเขาในทางมิบังควรตองไดรับ
                  ทุกขถึงตายเชนนี้เอง”

                  จาก ฐะปะนีย  นาครทรรพ  การประพันธ  ท 041 อักษรเจริญทัศน 2519 หนา 9

                           9.5  แบบเทศน หรือเทศนาโวหาร  คือโวหารที่อธิบายชี้แจงใหผูอานเชื่อถือตาม โดยยก

                  เหตุผลขอเท็จจริง อธิบายคุณ โทษ แนะนําสั่งสอน ตัวอยางเชน

                                “คนคงแกเรียนยอมมีปรีชาญาณ  ฉลาดคิด  ฉลาดทํา  ฉลาดพูดและมีความรูสึกสูง

                  สํานึกในผิดชอบชั่วดี   ไมกลาทําในสิ่งที่ผิดที่ชั่ว   เพราะรูสึกละอายขวยเขินแกใจและรูสึกสะดุง
                  หวาดกลัวตอผลรายอันพึงจะไดรับ  รูสึกอิ่มใจในความถูกตอง รูสึกเสียใจในความผิดพลาด  และรูเทา

                  ความถูกตองนั้นวา  มิไดอยูที่ดวงดาวประจําตัว  แตอยูที่การกระทําของตัวเอง พึงทราบวา  ความฉลาด

                  คิด ฉลาดทํา ฉลาดพูดและความรูสึกสูงทําใหคิดดี ที่จริงและคิดจริงที่ดี ทําดีที่จริง ทําจริงที่ดี และพูดดี
                  ที่จริง พูดจริงที่ดี นี่คือวิธีจรรยาของคนแกเรียน

                  จากฐะปะนีย  นาครทรรพ  การประพันธ ท 041 อักษรเจริญทัศน 2519 หนา 8


                         โวหารตางๆ ดังกลาว เมื่อใชเขียนเรียงความเรื่องหนึ่งๆ  ไมไดหมายความวาจะใชเพียงโวหาร

                  ใดโวหารหนึ่งเพียงโวหารเดียว  การเขียนจะใชหลายๆ  แบบประกอบกันไป  แลวแตความเหมาะสม

                  ตามลักษณะเนื้อเรื่องที่เขียน
                         การเขียนเรียงความเปนศิลปะ  หลักการตางๆ  ที่วางไมไดเปนหลักตายตัว   ตัวอยาง

                  คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ดังนั้น จึงเปนเพียงแนวปฏิบัติและขอเสนอแนะ ในการเขียนอาจพลิกแพลง

                  ไดตามความเหมาะสมที่เห็นสมควร

                         ตัวอยาง เรียงความเรื่อง สามเสา


                         ครัวไทยแตกอนครั้งหุงขาวดวยฟนนั้น มีสิ่งสําคัญอยางหนึ่งคือ กอนเสา เรายังหาครัวอยางนี้

                  ดูไดในชนบท  กอนเสานั้นอาจเปนดินหรือกอนหิน มีสามกอนตั้งชนกันมีชองวางสําหรับใสฟน กอน
                  เสาสามกอนนี้เองเปนที่สําหรับตั้งหมอขาวหมอแกงอันเปนอาหารประจําชีวิตของคนไทย ดูๆ ไปกอน

                  เสาสามกอนนั้นก็เปนสัญลักษณของชาติไทย เพราะชาติไทยแตไหนแตไรก็ตั้งอยูบนกอนเสาสามกอน

                  นั้น มีชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย  พระพุทธศาสนาก็ประกอบดวยกอนเสาสามกอนคือ พระพุทธ
                  พระธรรม พระสงฆ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84