Page 72 - ภาษาไทย ม.ต้น
P. 72

72 | ห น า



                  เพื่อเรียบเรียงเนื้อหา  ซึ่งการเรียบเรียงเนื้อหานี้ตองอาศัยความสามารถในการเขียนยอหนาและการ
                  เชื่อมโยงยอหนาใหเปนเนื้อหาเดียวกัน

                         1.  การเลือกเรื่อง

                           ปญหาสําคัญประการหนึ่งของผูเขียนที่ไมสามารถเริ่มตนเขียนได  คือไมทราบจะเขียน

                  เรื่องอะไรวิธีการแกปญหาดังกลาวคือ  หัดเขียนเรื่องใกลตัวของผูเขียน  หรือเรื่องที่ผูเขียนมี
                  ประสบการณดีรวมทั้งเรื่องที่ผูเขียนมีความรูเปนอยางดี   หรือเขียนเรื่องที่สนใจ  เปนเรื่องราวหรือ

                  เหตุการณที่กําลังอยูในความสนใจของบุคคลทั่วไป  นอกจากนี้ผูเขียนอาจพิจารณาองคประกอบ  4

                  ประการ เพื่อเปนแนวทางในการตัดสินใจเลือกเรื่องที่จะเขียนดังตอไปนี้
                           1.1  กลุมผูอาน   ผูเขียนควรเลือกเขียนเรื่องสําหรับกลุมผูอานเฉพาะและควรเปนกลุม

                  ผูอานที่ผูเขียนรูจักดี ทั้งในดานการศึกษา ประสบการณ วัย ฐานะ ความสนใจและความเชื่อ

                           1.2  ลักษณะเฉพาะของเรื่อง  เรื่องที่มีลักษณะพิเศษจึงดึงดูดใจใหผูอานสนใจ  ลักษณะ
                  พิเศษดังกลาว ไดแก ความแปลกใหม ความถูกตองแมนยํา แสดงความมีรสชาติ

                           1.3  เวลา เรื่องที่จะเขียนหากเปนเรื่องที่อยูในกาลสมัยหรือเปนปจจุบัน จะมีผูสนใจอาน

                  มากสวนเรื่องที่พนสมัยจะมีผูอานนอย นอกจากนี้การใหเวลาในการเขียนของผูเขียนก็เปนสิ่งสําคัญถา
                  ผูเขียนมีเวลามาก ก็จะมีเวลาคนควาหาขอมูลเพื่อการเขียนและการอางอิงไดมาก ถาผูเขียนมีเวลานอย

                  การเขียนดวยเวลาเรงรัดก็อาจทําใหเนื้อหาขาดความสมบูรณดวยการอางอิง

                           1.4  โอกาส การเขียนเรื่องประเภทใดขึ้นอยูกับโอกาสดวย เชน ในโอกาสเทศกาลและ

                  วันสําคัญทางราชการและทางศาสนา ก็เลือกเขียนเรื่องที่เกี่ยวกับโอกาสหรือเทศกาลนั้นๆ เปนตน
                         2.  ประเภทของเรื่องที่จะเขียน

                           การแบงประเภทของเรื่องที่จะเขียนนั้นพิจารณาจากจุดมุงหมายในการเขียน  ซึ่งแบงได

                  เปน 4 ประเภทคือ

                           2.1  เรื่องที่เขียนเพื่อความรู  เปนการถายทอดความรูและประสบการณรวมทั้งหลักการ
                  ตลอดจนขอเท็จจริงตางๆ ใชวิธีเขียนบอกเลาหรือบรรยายรายละเอียด

                           2.2  เรื่องที่เขียนเพื่อความเขาใจ   เปนการอธิบายใหผูอื่นเขาใจความรู  หลักการ  หรือ

                  ประสบการณตางๆ  การเขียนเพื่อความเขาใจมักควบคูไปกับการเขียนเพื่อใหเกิดความรู
                           2.3  การเขียนเพื่อโนมนาวใจ เปนการเขียนเพื่อใหผูอานเชื่อถือและยอมรับ เพื่อใหผูอาน

                  ไดรับอรรถรสทางใจ ใหสนุกสนาน เพลิดเพลินไปกับขอเขียนนั้นๆ

                         3.  การวางโครงเรื่องกอนเขียน
                           การเขียนเรียงความเปนการเสนอความคิดตอผูอาน  ผูเขียนจึงตองรวบรวมเลือกสรรและ

                  จัดระเบียบความคิด  แลวนํามาเรียบเรียงเปนโครงเรื่อง การรวบรวมความคิดอาจจะรวบรวมขอมูลจาก

                  ประสบการณของผูเขียนเอง  นําสวนที่เปนประสบการณตรงและประสบการณทางออม  ซึ่งเกิดจาก
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77