Page 14 - สิริบันยัน
P. 14
14
ได้เกิดมีสงครามขึ้นทางลังกา ทำให้พญาศรีธรรมโศกเสด็จไปแก้ไข ไม่ขาดสาย จนกระทั่งสมัยอาตมา พระพุทธสิหิงค์ได้มีบุคคลสำคัญ
ครันทรงแก้ไขได้แล้ว พระเจ้ากรุงลงกาทรงยกพระพุทธสิหิงค์ มากมายหลายคณะมาขอสักการบูชา อาตมาได้ทำกรงนิรภัย
เป็นสิ่งตอบแทนแก่พญาศรีธรรมโศก ครันพระพุทธสิหิงค์เสด็จ ขึ้นมาเพื่อคุ้มกันพระพุทธสิหิงค์ และได้เฝ้าดูแลอย่างใกล้ชิด
มาด้วยเรือสำเภา ได้เกิดพายุร้ายทำให้เรือที่ประดิษฐานพระล่มลง มาตลอด ๓๐ ปี โดยปรนนิบัติบูชามิได้ขาดเลยสักวัน”
ที่ทะเลเมืองตรัง พญาศรีธรรมโศกได้ให้ทหารนำเรือไปล้อมบริเวณ จากการให้ประวัติ ความเป็นมาของพระพุทธสิหิงค์
พระพุทธสิหิงค์จมเป็นวงกลม แล้วป่าวประกาศผู้มีวิชาทั้งหัวเมือง จากปากเจ้าอาวาสวัดบ้านนา (อินทคีรี) อาจพอสะท้อนเรื่องราว
๑๒ นักษัตร มาช่วยกันกู้พระพุทธสิหิงค์ขึ้นจากน้ำ ซึ่งใช้เวลาถึง พระพุทธสิหิงค์ในมุมมองของชาวเมืองนครได้บ้างพอสังเขป
๑ เดือนเต็มในการกู้พระพุทธสิหิงค์ ปัญหาต่อมา คือหัวเมืองต่างๆ อนึ่ง ได้มีคำสั่งเสียของพระยานครในยุคถัดมาสืบกันว่า “เสียบ้าน
ล้วนแต่ปรารถนาจะครองพระพุทธสิหิงค์ พ่อขุนรามคำแหงจึงคิดอุบาย เสียเมือง แต่ไม่ยอมเสียพระ ลูกหลานจะไหว้พระ ให้ไปประหวันตก”
ตัดสินว่า ถ้าพระพักตร์ผันหน้าไปทางใด หัวเรือประดิษฐาน เป็นคำบอกเล่าที่สืบต่อกันมา ซึ่งวัดบ้านนา ได้อยู่ทางตะวันตก
พระหันไปทางใด เรือลอยลำอยู่ปากน้ำเข้าเมืองใด เมืองนั้น ของเมืองนครฯ พอดี ตำนานของพระพุทธสิหิงค์ของวัดบ้านนา
ได้ครอบครอง ปรากฏว่าพระพุทธสิหิงค์และลำเรือ ได้ผันไป ได้สอดคล้องกับประวัติกระแสส่วนใหญ่ของตำนาน
ตรงกับทิศทางไปเมืองนครศรีธรรมราช พญาศรีธรรมโศกจึง พระพุทธสิหิงค์ แต่ได้มีเรื่องราวของการนำพระพุทธสิหิงค์รักษา
ทรงเสด็จมารับพระพุทธสิหิงค์ไปสมโภชน์เป็นเวลา ๗ วัน ๗ คืน ในเมืองนครอย่างเข้มข้น เพื่อให้เป็นพระประจำคู่บ้านคู่เมือง
เสร็จแล้วก็ประดิษฐานยังเมืองนครศรีธรรมราช จนกระทั่ง ในทัศนะของผู้เขียน เรื่องราวของพระพุทธสิหิงค์ นอกเหนือ
พ่อขุนรามคำแหงเสด็จนิวัติสุโขทัยแล้ว ได้ทรงส่งราชทูตมาขอ จากการเผยแพร่พระพุทธศาสนาแล้ว ยังซ่อนเงื่อนเรื่องการเมือง
พระพุทธสิหิงค์ พญาศรีธรรมโศกราชจึง “ส่ง” พระพุทธสิหิงค์ - การทูต ระหว่างอาณาจักรอีกด้วย ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องขบคิดกัน
ศิลปะของเมืองสุโขทัย ขึ้นไปให้พ่อขุนรามคำแหง แทนพระพุทธสิหิงค์ ในคราวต่อไป จะทำให้พอเห็นภาพความรุ่งเรืองของเมือง
องค์จากลังกาที่ประดิษฐานในวังของพระองค์ พระพุทธสิหิงค์ นครศรีธรรมราชในอดีตกาลอันไกลโพ้น ว่าในอดีตบรรพบุรุษ
องค์นี้ ได้รับการรักษาอย่างดีจากเจ้าผู้ครองเมืองนครศรีธรรมราช เมืองนครมีกุศโลบายการเมือง การปกครองการทูตระหว่างเมือง
ทุกยุคทุกสมัย จนถึงสมัยที่พระยานคร (ปลัดหนู) ได้ครองเมือง เป็นอย่างไร
พระยานครปลัดหนู ได้ทราบข่าวว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินทรง พระพุทธสิหิงค์วัดบ้านนา (อินทคีรี) จึงเป็นพระพุทธรูป
สิ้นพระชนม์จากการจลาจลในกรุงธนฯแล้ว แต่พระยานครปลัดหนู โบราณอีกองค์หนึ่ง ซึ่งควรค่าแก่การสักการบูชาจากชาว
มิได้เชื่อ และเชื่อว่าพระเจ้าตากสินจะต้องเสด็จกลับมายังเมืองนคร นครศรีธรรมราช และได้ยืนหยัดท้าทายนักวิชาการ นักประวัติศาสตร์
พระยานครปลัดหนูฯ จึงนำพระพุทธสิหิงค์องค์นี้ไปซ่อนไว้ที่วัด ปราชญ์ท้องถิ่น ตลอดจนผู้ที่สนใจที่มาของบ้านเกิดเมืองนอน
เขาขุนพนม ต่อมาพระยานครปลัดหนูได้ทราบว่าพระเจ้าตากสิน ให้ได้ขบคิด ถึงความเป็นมาที่แท้จริงของพระพุทธสิหิงค์ ว่าจะ
ทรงหมายเสด็จมาผนวชที่วัดเขาขุนพนม จึงได้สั่งให้ทหารนำ เป็นไปตามตำนานที่ได้สืบทอดกันต่อมาหรือไม่ ? และยังเป็น
พระพุทธสิหิงค์ไปซ่อนในกอสาคูข้างริมคลองพรหมโลก ซึ่งอยู่ พระปฎิมาองค์สำคัญองค์หนึ่งของจังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ควรค่า
ไม่ไกลจากวัดบ้านนานัก ต่อมา อดีตเจ้าอาวาสเจ้าบ้านนาในยุคนั้น แก่การเข้าไปบูชาเป็นอย่างยิ่ง ในขณะนี้ ทางวัดอินทคีรี
ท่านได้ทราบว่าในป่าสาคูได้ซ่อนพระพุทธสิหิงค์ไว้ จึงให้ชาวบ้าน ได้ประสบเหตุอัคคีภัยเผาผลาญพระอุโบสถในวันที่ ๒๓ กรกฎาคม
ไปยกมาทำความสะอาด แล้วซ่อนไว้ในสระบัวประจำวัด (ปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๕๙ เนื่องจากเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ทำให้ทางวัดจำต้องสร้าง
สระบัวถูกถมจนหมดแล้ว) ความลับเรื่องนี้ถูกสืบต่อมายังเจ้าอาวาส พระอุโบสถหลังใหม่ทดแทนพระอุโบสถหลังเดิม จึงเป็นโอกาสดี
ที่พุทธศาสนิกชนผู้ศรัทธา นอกจากจะได้กราบไหว้พระพุทธสิหิงค์แล้ว
ยังได้สมทบทุน หรือร่วมกันสร้างพระอุโบสถหลังใหม่ให้กับ
วัดบ้านนา (อินทคีรี) อีกด้วย จึงขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชน
และท่านผู้ศรัทธา เดินทางไปบูชาพระพุทธสิหิงค์วัดบ้านนา ได้ที่
วัดอินทคีรี ( บ้านนา ) เลขที่ ๑๓๔ ทางหลวงชนบท นศ.3050
รุ่นถัดมา ท่านได้มากราบสระน้ำทุกวันจนถูกชาวบ้านเสื่อมความ ม.๗ ต.บ้านเกาะ อ.พรหมคีรี จ.นครศรีธรรมราช 80320
ศรัทธา จนกระทั่งตอนที่ท่านแก่ชรามาก ท่านได้สั่งให้ชาวบ้านกู้ “เสียเมืองไม่ยอมเสียพระ ลูกหลานจะไหว้พระให้มา
พระพุทธสิหิงค์ขึ้นมาจากสระบัวของวัด ขึ้นมาประดิษฐานในกุฎิ ประตก จึงขอประกาศโฆษก ว่าประตกวัดอินคีรี มีพระศรีสิหิงค์
ของเจ้าอาวาส แล้วมีการลั่นดานปิดอย่างแข็งขัน จนกระทั่ง มิ่งมหานครา”
สมัยของ พระครูอินทคีรีสมานคุณ ได้มีการเปิดให้ชาวบ้านใน อ้างอิง
ชุมชนเข้ามาบูชา สืบมาจนถึงสมัยของ พระสมุห์แดง พันธรักษ์ ประวัติ “พระพุทธสิหิงค์” จาก วิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/ wiki/พระพุทธสิหิงค์
ท่านเจ้าอาวาสรูปต่อมา เป็นอาจารย์ของอาตมา และมีศักดิ์ลำดับ การสัมภาษณ์ สอบถามประวัติ ท่านพระครูวิมลอินทโชติ (ปรีชา)
เจ้าอาวาสวัดบ้านนา (อินทคีรี) รูปปัจจุบัน
ญาติร่วมสกุลกับท่านขุนพันธรักษ์ราชเดช ได้มาเป็นเจ้าอาวาส “พระพุทธสิหิงค์ ตำนาน และ รูปแบบ” จากบล็อกเว็ป “ความจริง”
ได้มีการพัฒนาวัดตามลำดับ ผู้มาบูชาพระพุทธสิหิงค์ก็มีมาอย่าง http://kit-meaninoflife.blogspot.com/2008/07/blog-post_27.html