Page 11 - สิริบันยัน
P. 11

11


                                                              นำ พระขรรค์โบราณจากเขาชัยสน เล่มใหญ่ ๒ เล่ม เล่มเล็ก ๑ เล่ม
                                                              นำมาร่วมพิธี พร้อมขันสาครบรรจุน้ำศักดิ์สิทธิ์ ๔ บ่อ ๒ ห้วย ก็ได้
                                                              จัดทำ ตบแต่ง จัดวางโดยผู้ที่ชำนาญในศาสตร์โนราอย่างลึกซึ้ง
                                                                  การจัดพิธีกรรมโนราโรงครูขอทำเทริด ของทางชมรมฯ นั้น
                                                              ได้เป็นกระแสที่สนใจของผู้คนอย่างมาก  ในวันพุธวันเหยียบโรง
                                                              ได้มีคณะมวลชนจากที่ต่างๆ มาแวะเวียนสอบถาม การแถลงข่าว
                                                              เปิดพิธีในตอนเย็นกันอย่างมาก  ซึ่งน้อยครั้งมากที่จะมีโนรา
                                                              โรงครูในบริเวณตัวเมืองนครที่จะยิ่งใหญ่และครบถ้วนถึงขนาดนี้
                                                              พิธีกรรมในวันแรกเริ่มขึ้นในตอนหัวค่ำ  หรือ  “ยามนกชุมรัง”
                                                              ในภาษาของชาวโนรา  โนราสมปอง ศ. พนมศิลป์   ได้ขับบทขานเอ,
         ที่ไปถึงนั้น  เป็นไปได้ยาก  ด้วยมนุษย์ยังต้องเป็นไปตาม  “ราคะ   บทกาศครู,  บทเชื้อครู  และบทบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์  ชุมนุมเทวดา
         โทสะ  โมหะ”  ที่ดวงจิตถูกครอบงำโดย  อวิชชา  นำพาจิตใจ   อย่างไม่มีตัดทอนใดๆ  จนสัมผัสได้ถึงขนบโบราณที่ถูกต้อง
         ให้ตกต่ำไปตามกระแสของโลกธรรม  ๘  ประการ  บางครั้งการที่   หลังจากการกาศครูในขั้นต้นเสร็จลง  โนราสมปอง ได้ประกอบพิธี
         พระภิกษุศิษย์พระสุคโต  จะมาเทศนาธรรม  ก็มิอาจชี้หนทาง   “ตั้งบ้านตั้งเมือง” โดยกล่าวกลอนการกำเนิดโลกตามคติโบราณ
         กระจ่างแจ้งแก่ปุถุชน  ด้วยว่าชาวมนุษย์นั้น  ยังมีกิเลสเป็นธุลี   มีการนำพืชพรรณที่เชื่อกันว่าเก่าแก่มาประกอบ  เช่น  หญ้าคา
         เต็มนัยน์ตา  จึงต้อง  “ใช้ผู้ชำนาญในมายา  ที่รอบรู้ทางธรรม   หญ้าเข็ดมอญ  ใบชุมเห็ด  บัวนา  บัวคลั่ง  ไม้หว้า  ไม้ฝ้าย  ฯลฯ
         แสดงมายาหักมายาเสีย” ในขณะที่ผู้คนได้รับชมการแสดง ก็จะ   มาประกอบพิธีตั้งบ้านตั้งเมือง  โดยขับบทพระอิศวรตั้งดินฟ้า
         ได้ซึมซับเอาพระธรรมคำสอนเข้าไปในหัวใจ เป็นหนทางให้เข้าใจ   และบทท้าวอาทิตย์ภูธรกำเนิดกรุงอุดรเบญจา ก่อนจะนำกระสอบ
         พระสัทธรรมที่ถูกถ่ายทอดโดยพระสาวกของพระศาสดา         ราดทั้ง ๓ อันเป็นสิ่งถวายแก่ครูหมอโนรา, ตายายโนรา และ
         การที่โนราได้สวมเทริด  จึงเสมือนประหนึ่งสัปปบุรุษผู้เชี่ยวชาญ  เทวดาศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย  ขึ้นสู่ศาลาพาไล  แล้วทำการเซ่น
         ทั้งโลกทั้งธรรม  ออกสั่งสอนราษฎรนิกรหญิงชายผ่านการแสดง   ศาลาพาไล ถวายแก่ครูหมอโนราและ เทวดาศักดิ์สิทธิ์  เสร็จแล้ว
         ซึ่งข้อนี้เป็นหัวใจแก่นแท้ของโนราตลอดมา              ทางชมรมฯ ได้เชิญแขกผู้มีเกียรติ รวมถึง อ.กนกวรรณ บุษบรรณ
            การทำโรงครูโนราในพิธีขอทำเทริดครั้งนี้   ทางชมรมคนรักษ์   ช่างผู้ทำเทริดศรีวิชัย มาร่วมกันกราบครูหมอ เพื่อเป็นการแสดง
         วัฒนธรรมอาณาจักรศรีวิชัย  ได้รับความเมตตา  จากมโนราห์   ความเคารพต่อครูหมอ  เสร็จแล้ว  โนราเหมีย  บ้านทะเลน้อย
         สมปอง พนมศิลป์  จาก จ.สตูล ผู้เป็นปรมาจารย์ อยู่เบื้องหลัง   ได้ออกมาเชื้อครูหมอตามคตินิยม  ก่อนจะให้โนราออกรำสมโภชน์
         ความสำเร็จของโนราหลายท่านเป็นประธานในการประกอบ       โรง ๑ ชุด เป็นรายการปิดท้ายในวันแรก
         พิธีกรรม และได้ มโนราห์ปัญญาศิลป์ นครศรีฯ ศ. ลั่นทะเลน้อย
         เป็นนายโรงใหญ่นำประกอบพิธีสำคัญ  อีกทั้ง  มโนราห์เหมีย
         บ้านทะเลน้อย  มาเป็นโนราอาวุโสคู่กับนายโรง  นำประกอบ
         พิธีกรรมโนราโรงครูตามแบบฉบับโบราณ
            ในการทำพิธีกรรมยิ่งใหญ่ครั้งนี้  ทางชมรมคนรักษ์วัฒนธรรม
         อาณาจักรศรีวิชัย  ได้คำนึงถึงแบบแผนพิธีกรรมโบราณ  ก่อนที่       ในวันที่สองของโนราโรงครู  เริ่มต้นขึ้นในยามหัวรุ่ง นายโรง
         โนราใหญ่จะเหยียบโรงในช่วงบ่าย จึงประกอบพิธี “ไหว้ภูมิโรงโนรา”   ลุกขึ้นประกาศราชครู บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในตอนรุ่งสาง ก่อนตะวัน
         ขึ้นเพื่อบอกกล่าวต่อภุมเทวดาตลอดจนเทวดาทั้งหลายทั่วสากลพิภพ   จะขึ้นขอบฟ้า  หลังจากที่ทางชมรมฯ  ได้เตรียมเครื่องสังเวยบน
         ให้เสด็จลงมารับทราบการทำโรงครู และช่วยกันรักษาโรงโนรา   พาไล และที่หน้าหิ้งครูหมอโนราฯ ในบริเวณวัดพร้อมมูลทางชมรมฯ
         อย่าให้มีอันตราย โดยทำบัตรพลีถวายภุมเทวดาตามคติชาวทะเลใต้    ได้เชิญ โนราปัญญาศิลป์ นครศรีฯ ศ. ลั่นทะเลน้อย ขึ้นไปรำถวาย
         เพื่อขอพรต่อเทพเจ้า สิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ให้ลงมารักษาโรงพิธี   ครูหมอโนราที่หน้าหิ้ง  ๑  ชุด  ก่อนจะลงมากาศครู  เชื้อครูหมอ
             เมื่อรถของคณะมโนราห์มาถึง  ทางเจ้าภาพ  ที่นำโดย   เพื่อถวายสังเวยบนพาไล  เสร็จแล้ว  โนราสมปอง  ศ.  พนมศิลป์
         คุณโสปริญญา  ไชยพลบาล  ได้แต่งขันหมาก  ออกไปต้อนรับ   ได้นำคณะโนราทั้งหมด แต่งพอก ๗ คน ครันว่าบท “บาลีหน้าศาล”
         ถูกตามขนบโบราณ  อีกทั้งให้โนราเหมีย  ทำน้ำมนต์ธารณีสาร   อธิบายขนบโนราแก่เจ้าภาพแล้ว ก็ได้ออกแสดงจับบท “๑๒ กำพรัด
         ประรอบโรง  เพื่อป้องกันอวมงคล  ก่อนที่จะจัดสิ่งของบนพาไล   ๑๒ คำบท” อันเป็นใจความสำคัญในวันนี้
         ให้ครบถ้วนตามจารีตที่มีมา ทั้งของบนศาลพาไล และของที่ท้องโรง       จำต้องอธิบายขยายความ  ๑๒  กำพรัด  ๑๒  คำบท
         บายศรีท้องโรง ๙ ชั้น ตลอดจนหมรับพองลา เครื่องพิธีต่างๆ รวมถึง   คือการแสดงประกอบบทกลอน  ที่เป็นเรื่องครู  ท่าครู  ซึ่งมีคติ
                                                              สอนใจให้ยึดมั่นในความกตัญญูกตเวทิตา ๑๒ กำพรัด ประกอบ
                                                              ไปด้วย บทรำครูสอน, บทรำท่าปฐม, บทรำท่าครู, บทเรือใบผ้า,
                                                               บทนกกาน้ำ,  บทฝนตกข้างเหนือ,  บทยาแดง,  บทแม่ลูกอ่อน,
                                                              บทพลายงามตามโขลง, บทระไวระเวก, บทดอกจิกดอกจัก และ
                                                              บทเสียที ซึ่งสันนิษฐานว่า เป็นบทที่ใช้ในการรำโนรามาตั้งแต่ครั้ง
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16