Page 8 - สิริบันยัน
P. 8
8
ฐานพระสยมภูวนารท
ศิวาลัยใจกลางเมืองนครศรีธรรมราช
ฐานพระสยมฯ เป็นเทวาลัยของพระอิศวรใจกลางเมือง
นครศรีธรรมราช อันเคยมีพราหมณ์ปกครองอยู่แต่เก่าก่อน เพิ่งมา
ร้างลงหลังจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองท้องถิ่น พนักงานถวายน้ำสังข์ทำโขลน ทวาร ขุนพันเวก พนักงานอ่าน
จากเจ้าเมืองเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ พิชัยยาตรา ขุนเทพมุนี พนักงานอ่านตรีปะวายสำหรับพระนารายน์
ฐานพระสยมฯ ถูกปล่อยทิ้งร้าง แม้ว่าต่อมาจะมีการบูรณะโดย ขุนราชมุนี พนักงานอ่านตรีปะวายสำหรับพระนารายน์ ขุนจิตภักดี
กรมศิลปากรในสภาพที่ดีขึ้น แต่มิค่อยมีชาวนครไปบูชามากนัก พนักงานอ่านตรีปะวายสำหรับพระนารายน์ ขุนรามดิต สักดินา
เสมือนถูกมองข้าม ทั้งๆ ที่เป็นเทวาลัยสำคัญประจำเมืองมา ๒๐๐ พนักงานอ่านตรีปะวายสำหรับพระ ขุนญานภักดี พนักงาน
แต่เก่าก่อน อ่านตรียำพวายสำหรับพระอิสวร ขุนสรีภักดี ขุนสรีบาดาล
ขุนญานชูด ขุนไชยบารมี พนักงานตั้งโขลนทวาร และตั้งคอกช้าง
ฐานพระสยมฯ มีชื่อเต็มจริงๆ ว่า “ฐานพระสยมภูวนารท” ทอด เชือกช้าง ฝังหลักช้าง ตั้งค่าย ถือสักดินา ๒๐๐ ขุนรันไภรี
มีการสันนิษฐานว่า มีอายุเก่าแก่ประ มาณพุทธศตวรรษที่ ๑๖ - ๑๘ ถือสักดินา ๒๐๐ พนักงานตีกลองแห่พระ ขุนสวัสดิญาน ถือสักดินา
มีลักษณะเป็นอาคารฐานก่ออิฐสอดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ตัวอาคาร ๒๐๐ พนักงานเร่งรัดเจ้าพนักงาน สิริพราหมน์ ขุนนั่งสาล ๔
แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ฐานทั้งหมดของอาคารก่ออิฐขึ้นสูงราว ขุนเลว ๒๗ รวม ๑๑ ฯลฯ”
๓ ศอก ผนังก่ออิฐหนาราว ๕๐ เซนติเมตร ฐานอาคารยาวประมาณ ในเอกสารประชุมพงศาวดารข้างต้น ได้แสดงให้เห็นว่า “ขุนรามราชา
๑๕.๙๐ เมตร กว้างประมาณ ๕.๙๐ เมตร ลักษณะคล้ายวิหาร ถือศักดินา ๒๐๐ ไร่ รักษาฐานพระสยมภูวนารท” ฐานพระสยมฯ
มีบันใดขึ้นทางด้านหน้า ( ทางทิศตะวันออก ) ๑ บันใด อีกส่วนหนึ่ง ในยุคนั้น คงมีพราหมณ์เมืองนครฯ อันมีตำแหน่งเป็นขุน อยู่ดูแล
อยู่ด้านหลังทำเป็นห้องสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดเล็ก ยาว ๓.๓๐ เมตร รักษาในฐานะเทวสถานสำคัญ และก่อนหน้านี้คงมีพราหมณ์ดูแล
กว้าง ๒.๗๐ เมตร มีประตูทางเข้าทางด้านทิศตะวันออกกว้าง มาโดยตลอด ตั้งแต่พราหมณ์จากรามนคร หรือ พาราณสีมา
๕๒ เซนติเมตร ผนังที่เหลืออยู่สูงราว ๑.๘๕ เมตร ก่ออิฐทึบทั้งสี่ด้าน อาศัยเป็นพราหมณ์ประจำเมืองนครศรีธรรมราช ก็ได้บำรุงดูแล
ภายในประดิษฐานศิวลึงค์วางอยู่บนฐานโยนิทรงกลมขนาดใหญ่ ฐานพระสยมฯ มาโดยตลอด จนกระทั่งสมัยหลังจากการเปลี่ยนแปลง
ด้านหน้าห้องมีฐานเทวรูปสันนิษฐานว่าเป็นที่ประดิษฐานรูปสลักหิน ระบบหัวเมืองมาเป็นเทศาภิบาลมณฑล พราหมณ์หัวเมืองนคร
ของพระโคนันทิ มีโบราณวัตถุสามประการคือ ศึวลึงค์ศิลา, ก็มีอันกระจัดกระจายแยกย้าย บ้างไปอยู่กรุงเทพฯ บ้างก็ไปอยู่ปากพนัง
โยนิโทรณะทรงกลมศิลปะอินเดียใต้ และโยนิโทรณะแบบสี่เหลี่ยม บ้างก็ไปอยู่ลานสกา เลยอาจเป็นอีกหนึ่งสาเหตุ ที่ทำให้ฐานพระสยม
ซึ่งมีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๖ ซึ่งโบราณวัตถุทั้งสาม ได้รกร้างลง
มีที่มาจากชุมชนพราหมณ์แห่งอื่น อาจคาดการณ์ได้ว่า โบราณวัตถุ ฐานพระสยมฯ ในด้านคติความเชื่อ แต่เดิมนั้นฐานพระสยมฯ
ทั้งสามที่ฐานพระสยมฯ อาจนำมาจากเทวาลัยที่อื่น แล้วมาสถาปนา เป้นที่เคารพบูชาของชาวเมืองนครฯ มาช้านาน ไม่มีใครกล้ารุกล้ำ
ขึ้นเหนือเนินสันทรายหาดทรายแก้ว เพื่อเป็นวิมานหลักบ้านใจเมือง หรือทำลายฐานพระสยมฯ เพราะเกรงกลัวในอาถรรพ์ ระยะหลัง
ในยุคที่พราหมณ์ยังคงมีอิทธิพลเหนือสันหาดทรายแก้ว มีชาวจีนมาอาศัยก็ได้รุกล้ำ ทำให้ลูกหลานในครอบครัวนั้นถึงแก่
กาลวิบัติ ระยะหลังกรมศิลปากรได้บูรณะฐานพระสยมฯ ขึ้นมาแล้ว
ความสำคัญของฐานพระสยมฯ ในสมัยโบราณที่ฐานพระสยมฯ ก็เริ่มมีชาวอินเดียรวมถึงชาวนครฯ ที่ศรัทธา พอจะทราบ
จะเป็นจุดแรกที่ขบวนแห่นางกระดานเริ่มต้นยาตราขบวนจากฐาน ความสำคัญของฐานพระสยมฯ ว่าเป็นศิวลึงค์ และโยนิโทรณะ
พระสยมฯ เมื่อกระทำพิธีถวายสักการะ บูชาพระอิศวรและ อันเป็นรูปแทนของพระอิศวรและพรอุมาเทวี การสักการะที่ฐาน
พระอุมาเทวีแล้ว กระบวนแห่นางกระดานทั้งสามก็จะแห่แหนไปยัง พระสยมฯ ก็มีมากขึ้นตามลำดับ แต่เพราะขาดการประชาสัมพันธ์
เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ แล้วจึงประกอบพิธีตรียัมปวาย - ตรีปวาย อย่างจริงจัง ตลอดจนทางหน่วยงานของรัฐอื่นๆ มิได้รณรงค์
ในช่วงเดือนยี่ นอกจากนี้ เมื่อได้ค้นคว้าใน “ประชุมพงศาวดาร เรื่องฐานพระสยมฯ จึงทำให้เทวาลัยของพระศิวะใจกลางเมืองนครฯ
ภาคที่ ๗๓ ว่าด้วย ทำเนียบข้าราชการเมืองนครศรีธรรมราช” แห่งนี้เงียบเหงาซบเซา ไม่ค่อยมีผู้มาสักการะเท่าที่ควร
ในปีจุลศักราชที่ ๑๑๗๓ ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ ๒) เป็นช่วงที่เจ้าพระยานคร จึงขอรณรงค์ ให้มีการศึกษา ค้นคว้า จัดการรวบรวมทำประวัติ
(น้อย) ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าเมือง มีการระบุชื่อพราหมณ์ที่เป็น รวมถึงการประชาสัมพันธ์ เชิญชวนให้มีการประกอบพิธีกรรมตาม
ข้าราชการในพิธีกรรม ดังนี้คือ คติศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ที่ฐานพระสยมฯเป็นประจำ จึงจะ
“ขุนสรีสวัสดิสมัย ถือสักดินา ๘๐๐ ลูกขุน นั่งสาลฝ่ายขวา ทำให้ฐานพระสยม เทวสถานพระอิศวรของชาวนครฯ เป็นที่รู้จัก
ขุนจันทร์ ปลัดพนักงานกองกุลพิธีตรุสสารท ถือสักดินา ๔๐๐ กันอย่างทั่วถึง
ขุนเท้าเพ็ชร ถือสักดินา ๒๐๐ พนักงานชิงช้าและรักสาเทวสถาน อ้างอิง
ขุนโหราจารย์ ขุนมริทธิเสรียน ขุนสรีสเภา ขุนสรีราชภูเบนทร์ ประวัติฐานพระสยมฯ จากคณะโบราณคดี กรมศิลปากร
ขุนโสพร ขุนลักสน์จันทร์ พนักงานรักสาหอพระ ขุนรัตนา http://www.archae.su.ac.th/art_in_south/index.php/collections/nakaornsrithammarat/itemlist/
category/12-ฐานพระสยม.html
ขุนรามราชา พนักงานรักสาพระสยมภูวนาถ ขุนวาสุเทพ พนักงาน ทำเนียบข้าราชการเมืองนคร จ.ศ. ๑๑๗๓
http://www.phuketdata.net/main/index.php?option=com_content&task=view&id=25&Itemid=2
รักสาสถานพระนารายน์ ขุนรัสวรีย์ พนักงานขนานน้ำพระ ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๗๓ ที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพ เจ้าจอมสว่าง ณ นคร
ขุนเทวกรรม พนักงานเชินพระไปสำหรับพิธี ขุนญานสยมภูว์ http://th.wikisource.org/wiki/ประชุมพงศาวดาร_ภาคที่_๗๓