Page 4 - สิริบันยัน
P. 4
4
สถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
“เปิดกรุเมืองคอน”
“วัดพระเงิน” หรือ “เสมาเงิน”, “เจดีย์ยัก” ไม่ใช่
“เจดีย์ยักษ์”, พี่สร้างพระเจดีย์ทอง - น้องสร้างพระเจดีย์เงิน
สามวรรคนี้มีความสำคัญอย่างไร...? เชิญทุกท่านแสวงหาสาระ
ในบทความได้เลยครับ
วัดพระเงิน และเจดีย์ยัก ตั้งอยู่บนเนื้อที่ตรงกลาง ระหว่าง
สำนักงานเทศบาลนครนครศรีธรรมราช และวิทยาลัยอาชีวะ
จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นวัดที่มีความเก่าแก่มาตั้งแต่โบราณ
โดยสันนิษฐานกันว่า สร้างขึ้นในสมัยพุทธศตวรรษที่ ๑๖๐๐ - ๑๘๐๐
แต่เดิมคงมีอาณาเขตของวัดกว้างขวาง แต่เพราะผ่านกาลเวลา
มายาวนาน จึงทำให้วัดพระเงินได้ร้างลง และมีพื้นที่หลงเหลือ
ให้เห็นเพียงน้อยนิดในปัจจุบัน โฉมสง่างาม จำเริญวัยคู่ควรแก่การอภิเษกแล้ว จึงมีการแข่งขันกัน
ตำนานหนึ่งที่เกี่ยวกับวัดพระเงินที่ชาวเมืองคอนจำได้ สร้าง “วัดเสมาเงิน” และ “วัดเสมาทอง” เกิดขึ้น วัดเสมาเงินนำโดย
คือ ตำนานยักษ์สร้างพระเจดีย์แข่งกับชาวเมือง โดยเป็นนิทาน “พระนางมรพานพิธี” พระอัยกี (ยาย) ของ “พระหน่อโพธิกุมาร”
ปรัมปราที่เล่าสืบต่อกันมา อาจเพียงเพื่อความสนุก หรืออาจบอก วัดเสมาทอง นำโดย “พระท้าวราช และ พระท้าวศรี” พี่ชาย
ใบ้เรื่องราวบางประการ โดยแฝงรูปในนิทานไว้ แต่คงไม่ใช้ยักษ์ ทั้งสองของท้าวโคทคีรี ที่ได้ผลักดัน “พระมหาเครื่อง” บุตรชาย
เขี้ยวโง้งมาสร้างแข่งกันชาวเมืองเป็นแน่ คนเล็กของท้าวโคทคีรี ขึ้นมาดองกับเชื้อพระวงศ์ศรีธรรมโศก
* วัดพระเงิน หรือ สวนพระเงิน แต่เดิมมีชื่อว่า “วัดเสมาเงิน” อีกคนหนึ่ง โดยได้มีการกำหนดสร้างคนล่ะฝั่งกัน พระนางมรพานพิธี
สร้างโดย นางมรพานพิธี ภริยา ชาวลังกาของท้าวโคทคีรี สร้างวัดเสมาเงิน มีอาณาเขตตั้งแต่เทศบาลครอบคลุมฝั่งตะวันออก
เศรษฐีชาวมอญ ผู้มาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของพระเจ้าศรีธรรมโศก ของถนนราชดำเนิน ส่วนพระท้าวราชท้าวศรี สร้างในวัดเสมาทอง
พระนามว่า “สุวรรณคูตา” โดยท้าวโคทคีรีผู้นี้ ได้ถวายบุตรชาย ตั้งแต่วัดมเหยงค์จนไปถึงศาลหลักเมืองในปัจจุบัน โดยการสร้างวัด
ชื่อ “นททกุมาร” รับใช้เป็นมหาดเล็กในพระเจ้าศรีธรรมโศก และพระเจดีย์ มีกติกาว่าให้เสร็จภายในระยะเวลา ๗ วันเท่านั้น
สุวรรณคูตา และได้ถวายบุตรีชื่อ “สุวรรณมาลา” ให้อภิเษกแก่ แต่ล่ะฝ่ายก็ได้ระดมพลขึ้นมา เพื่อจะให้พระกุมารของแต่ล่ะฝ่าย
“เจ้าชายสุวรรณราชบุตร” และทั้งสองพระองค์ก็ได้ทรงมีพระโอรส ได้อภิเษกกับฟ้าหญิงจันทรวดีอย่างที่ได้ปรารถนา
พระนามว่า “พระหน่อโพธิกุมาร” จึงทำให้พระนางมรพานพิธี เพราะว่า พระเจดีย์ถูกสร้างกันคนล่ะฝั่งถนน จึงถูก
มีศักดิ์เท่ากับเชื้อพระวงศ์ผู้หนึ่ง และเป็นมูลเหตุของการสร้างวัด ขนานนามว่า “เจดีย์ยัก” ซึ่งหมายความว่า “ยักเยื้องกันคนล่ะฝั่ง”
พระเงินในเวลาต่อมา หาได้หมายถึง “เจดีย์ที่ยักษ์สร้าง” ดั่งเช่นในนิทานเก่าแก่ของ
ด้วยธรรมเนียมการแข่งขันในสมัยโบราณ ที่จะเน้นกุศโลบาย ชาวนครไม่ ผลของการแข่งขันสร้างวัด ปรากฏว่า พระท้าวราชท้าวศรี
ในการ “สร้างศาสนสถาน หรือ สัญลักษณ์ที่สื่อศาสนา” เพื่อ เป็นฝ่ายกำชัยในการสร้างพระอาราม แต่ด้วยเหตุผลด้าน
ประกาศบารมี และอีกทั้งพระเจ้าศรีธรรมโศกสุวรรณคูตา ทรงมี ความสามัคคี ต้องการระงับการเอาชนะคะคานกัน พระเจ้า
พระธิดาอันประสูติแต่พระสนม พระนามว่า “จันทรวดี” ซึ่งทรง สุวรรณคูตา จึงส่ง “พระนางจันทรวดี” ขึ้นไปยังเมือง “ธยานปุระ”