Page 5 - สิริบันยัน
P. 5
5
ก็คือดงแม่นางเมือง จ.นครสวรรค์ในปัจจุบัน เพื่อไปปกครอง
ดินแดนแถบนั้นในนามศรีธรรมโศก (จารึกดงแม่นางเมือง บันทึก
เรื่องการสร้างพระเจดีย์ถวายแก่พระเจ้าศรีธรรมโศกที่ธยานปุระ
โดยชัดเจน )
จากเรื่องราวในข้างต้น จึงเป็นที่มาของประโยค คำว่า
“พี่สร้างพระเจดีย์ทอง - น้องสร้างพระเจดีย์เงิน” ซึ่งน้อยคน
ในจังหวัดนครศรีธรรมราชเองจะได้ทราบถึงความนัยของประโยคนี้
ถึงแม้นว่าจะเป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้นจากการแข่งขันแต่ก็เป็นการแข่ง
โดยธรรมะ เพื่อสร้างความรุ่งเรืองให้แก่อาณาจักร ในบั้นปลาย
สุดท้ายแล้ว เจ้าชายทั้งสอง คือ พระหน่อโพธิกุมาร และ
พระมหาเครื่อง ได้ทรงผนวชเป็นพระภิกษุทั้งคู่ จำพรรษาอาศัย
ที่วัดของตน โดยมีกัลปนาข้าคนทานมากมาย ให้สมศักดิ์ศรีกับ
วัดใหญ่แห่งหนึ่งอาณาจักร
วัดเสมาเงิน หรือ วัดพระเงินเอง ก็ดุจเดียวกับวัดโบราณ จนไม่กี่ปีมานี้ได้มีการบูรณะขุดค้น ในบริเวณวัดพระเงิน
ในนครศรีธรรมราช ผ่านร้อนผ่านหนาว ผ่านทั้งยามรุ่งเรืองและ ขึ้นมาใหม่ ได้มีการพบหลักฐานสำคัญหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น
โรยรา แต่มีเหตุการณ์ที่ทำให้วัดเสมาเงินร้างลงตลอดกาล ฐานเดิมของพระอุโบสถ ซึ่งเป็นหนึ่งในประจักษ์หลักฐานยืนยัน
* สันนิษฐานว่า คงจะเป็นช่วงที่เมืองนครศรีธรรมราช ความเก่าแก่ของวัดเสมาเงิน หรือ วัดพระเงินและเจดีย์ยัก
เกิดความวุ่นวายการจากพุ่งรบในช่วงสมัยอยุธยาตอนกลาง ได้อย่างดี ว่าเป็นสถานที่มีความสำคัญของประวัติศาสตร์ของ
เพราะเมืองนครมีสงครามติดพันตั้งแต่สงครามโจรสลัดจาก เมืองนครที่สมควรจะจารึกไว้ในแผ่นดิน ในฐานะสถานที่สำคัญ
แหลมมลายู จนถึงการก่อจลาจลของออกขุนเสนาภิมุข บุตรชาย คู่บ้านคู่เมืองตลอดมา
ของออกญาเสนาภิมุข ซึ่งได้สร้างความเสียหายในบริเวณกว้าง
อ้างอิง
จนพระเจ้าปราสาททองต้องส่งกองช่างลงมาบูรณะพระอาราม * หนังสือ “สารนครศรีธรรมราช” ฉบับ วันที่ ๖ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒
จากบทความ “เจดีย์ยัก” ของคุณชาลี ศิลปรัศมี หน้าที่ ๗๐
ในเมืองนครฯเสียใหม่ แต่วัดเสมาเงิน หรือ วัดพระเงินคงยาก * บทความ และภาพประกอบบางส่วน จากอัลบั้มภาพ “เจดีย์ยัก แปลว่าเจดีย์เอียง” ใน
Facebook ของ “ลุ่มน้ำปากพนัง ผอ. ธวัช ทวีชนม์”
แก่การแก้ไขบูรณะในยุคนั้นแล้ว จึงได้ปล่อยให้รกร้างอยู่นาน * ภาพประกอบ (ภาพขาว - ดำ และคำบรรยาย) จากหอจดหมายเหตุพล.อ. เปรม
หลายร้อยปี ติณสูลานนท์ (มูลนิธิบึ้ง - ออด ติณสูลานนท์)