Page 10 - สิริบันยัน
P. 10

10


          เปิด เบื้องลึก เบื้องหลัง



          “พิธีโนราโรงครู



                     เพื่อขอทำเทริด”

                                  พิธีกรรมที่สูญหายไป


             “เทริด”  ศิราภรณ์ของชาวโนรา อันประหนึ่งพิไชยมงกุฎ
          สำแดงความเป็นราชันแห่งศิลปิน ได้กำเนิดเกิดมาจาก “เจ้าพญา
          สายฟ้าฟาด”  เจ้านครผู้ปกครองเวียงกลางบางแก้ว  ได้พระราชทาน
          เทริดแก่  “พระเทพสิงหร” ผู้เป็นพระราชนัดดา อันประสูติแต่
          พระราชธิดา “นวลทองสำลี” ซึ่งชาวโนราถือกันว่า เปรียบเสมือน
          มารดาผู้ให้กำเนิดโนราขึ้นมา  การทำเทริดมีมาอย่างยาวนาน
          หลายยุคหลายสมัย  ที่ได้ปรับเปลี่ยนลวดลายจนมิอาจเห็นเค้า
          เดิมได้  จึงเป็นเหตุให้ สมาชิกในชมรมคนรักษ์วัฒนธรรมอาณาจักร
          ศรีวิชัย  นำโดยคุณโสปรินญา  ไชยพลบาล  ประธานชมรม
          คนรักษ์วัฒนธรรมอาณาจักรศรีวิชัย  ได้รื้อฟื้นการทำโนราโรงครู
          “พิธีขอทำเทริด”  ขึ้นมาเพื่อรื้อฟื้นศิลปกรรม  นาฎยธรรมที่
          บรรพชนในยุคศรีวิชัยตอนปลายได้ถ่ายทอดไว้  ให้กลับฟื้นคืน
          ขึ้นมาอีกครั้ง โดยอาศัยคติว่า  “เทริด”  เปรียบเสมือนหนึ่ง
          มหาพิไชยมงกุฎ  อันมหาราชในยุคบรรพกาลทรงพระราชทาน         ในด้านการออกแบบเทริดนั้น ได้รับความเมตตา จาก
          มาให้    จึงสมควรแก่การบอกกล่าวต่อครูหมอโนรา  ผู้ให้กำเนิด   อ.ชูเกียรติ สุทิน ครู คศ. ๒ ชำนาญการ จากวิทยาลัยช่างศิลปะ
          วิชาโนรา  ตลอดจนดวงจิตของบูรพาจารย์ผู้สืบสานศาสตร์โนรา   นครศรีธรรมราช ผู้เป็นนายช่างศิลป์ ผู้มีฝีมืออันดับต้นๆ ของ
          มาจนปัจจุบัน โดยผ่านพิธีกรรม “โนราโรงครู” ตามอย่างแบบ   ประเทศ  เป็นผู้ออกแบบ  โดยได้รับข้อมูลจากการค้นคว้าด้าน
          ฉบับโบราณ  โดยมีโนราชั้นครูเป็นผู้ประกอบพิธีอย่างเคร่งครัด   วิชาการและด้านจิตวิญญาณของลวดลายเทริดที่จะจัดทำ
          ตามคติธรรมเนียมโนรา  เพื่อความเป็นสิริมงคล  ตลอดจนเป็น   จากคุณโสปริญญา ไชยพลบาล ประธานชมรมคนรักษ์วัฒนธรรม
          ขวัญกำลังใจในการเผยแพร่ รื้อฟื้นวัฒนธรรมศรีวิชัยทะเลใต้   อาณาจักรศรีวิชัย กระทั่ง อ.ชูเกียรติ สุทิน ได้นำลวดลายเทริด
          ตลอดไป                                               ที่คาดว่ามีความใกล้เคียงกับเทริดยอดแรกในยุคนั้นจนทำให้
             จำต้องบอกทุกท่านที่ได้อ่านเสียก่อน  การขอทำเทริดครั้งนี้   อ.ชูเกียรติ  ตัดสินใจที่จะออกแบบเทริดอย่างโบราณให้กับทาง
          มิได้ง่ายดายอย่างที่เข้าใจกัน นอกจากการศึกษาค้นคว้าที่มา    ชมรมคนรักษ์วัฒนธรรมอาณาจักรศรีวิชัย  จนกระทั้งมีเหตุให้เกิด
          ของลวดลายอย่างศรีวิชัยมาประดับประดาบนเทริดให้วิจิตร   ความปิติมั่นแก่ใจ  จึงสามารถออกแบบได้อย่างสวยสดงดงาม
          อลังการสมแก่เกียรติแล้ว ยังมีปัจจัยประกอบ ที่ใช้เป็น “มวลสาร”   ถูกต้องตามขนบที่มีมาแต่โบราณ
          สำหรับทำ  ตลอดจนบรรจุในเทริด  ซึ่งเป็นสิ่งของที่มงคลสูงสุด      การทำเทริดแต่โบราณมานั้น  ได้รับเอาความสำคัญจาก
          ของชาวพุทธเราทั้งสิ้น  ให้เป็นไปตามเจตนาของโนรา  ที่เป็น   คติทางพุทธศาสนา แทรกในการทำอย่างมีชั้นเชิง เป็นปริศนาธรรม
          การแสดงจรรโลงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนา ใช้ธรรมปัญญาในการสั่งสอน
          เวไนยชนให้เข้าใจสัจธรรมของโลก  มวลสาระสำคัญสามประการ
          ที่ทางคณะผู้จัดทำ ได้ไปตามหามาตามคติโบราณก็มีด้วยกันสามสิ่ง
          คือ อิฐโบราณจากฐานชั้นใต้ดินของพระบรมธาตุนคร, ต้นโพธิ์รอด
          (โพธิ์ที่ขึ้นต้นเดียวบนยอดเจดีย์) จากเจดีย์พระปัญญา, น้ำอภิเษก
          ทั้ง ๒ ห้วย ๔ บ่อ (บ่อวัดประตูขาว บ่อวัดเสมาเมือง บ่อวัดเสมาชัย
          บ่อวัดหน้าพระลาน  ห้วยนาคราช  และห้วยเขามหาชัย)  และ
          เกล็ดแก้วมณี โดยใช้เวลายาวนานในการพลีแต่ล่ะสิ่งมาเป็นมงคล   ให้ขบคิดกัน โดยได้จำลองเอา “พระบรมธาตุ” หรือ “พระบรมเจดีย์”
          ในการบรรจุในเทริด  และเมื่อได้แล้ว ก็ต้องผ่านพิธีกรรมโนรา   อันบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระชินสีห์โลกนาถเจ้า มาประดับ
          โรงครูขอทำเทริด  ซึ่งจัดกันที่วัดคงคาเลียบ  ต.ท่าซัก  อ.เมือง    เป็นยอดเทริด ฐานเทริดชั้นเพดานรองลงมา เป็นกลีบบัว ๓ ระดับ
          จ.นครศรีธรรมราช  ครบถ้วนตามคติโนราทุกประการ  ก่อนจะ   แทนด้วยภพทั้ง ๓ คือ กามภพ, รูปภพ และ อรูปภพ ที่รองรับ
          มอบมวลสารสำคัญทั้งสาม  ให้ช่างผู้ชำนาญการได้นำไปกระทำ   พระธรรมเจดีย์อย่างเป็นลำดับ สำหรับชาวพุทธแล้ว  “นิพพาน”
          เทริดต่อไป                                           คือที่ไปสูงสุด อันนิรทุกข์พ้นเงื่อนไขแห่งสัจธรรมทั้งมวล แต่หนทาง
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15