Page 12 - สิริบันยัน
P. 12

12


          โบราณ และถือว่าเป็นบทครูที่สำคัญ อันมีเนื้อหาสาระในการดำรงตน   ตำนานนี้ผ่านนิทานเรื่อง “พระสุธนมโนราห์ ตอนพรานบุญคล้อง
          เป็นสุจริตชนที่รู้จักบาปบุญคุณโทษ  รู้เท่าทันพระไตรลักษณ์อันเที่ยงแท้   นางกินรี” ที่มีเรื่องราวเล่าถึงพรานบุญถูกโทษอาญาจากพระศรีสุธน
                                                              ให้ไปออกล่าสัตว์  แต่เพราะความช่วยเหลือของพญานาคชมภูจิตร
                                                              ที่เป็นมิตรสหาย  จึงทำให้พรานบุญจับนางมโนราห์ไปถวาย
                                                              พระศรีสุธนแก้โทษได้  ในบทคล้องหงส์นี้ โนราสมปอง ได้นำคณะ
                                                              โนราออก  “เดินหงส์”  เป็นรูปยันต์พญาเต่าเรือน  เป็นท่าเดิน
                                                              ที่ทำให้บังเกิดสิริมงคลแก่พิธีกรรม  มีโนราเหมีย  บ้านทะเลน้อย
              ส่วน ๑๒ คำบท คือละครนิทาน ๑๒ บท ที่เป็นวรรณคดี   ออกบทนายพรานบุญ เข้าคล้องโนราสมปองอย่างถึงบทบาท
          ที่ได้รับการร้อยเรียงขึ้นมา  มีคติเนื้อหาสอนใจคน  อันประกอบ
         ไปด้วยเรื่อง  พระรถเมรี, พระสุธนมโนราห์, หลวิชัยคาวี, สังข์ทอง,
         พระอภัยมณี, ยอพระกลิ่น, ลักษณ์วงศ์, สังข์ศิลป์ไชย, ไกรทอง,
         จันทโครพ, ขุนช้างขุนแผน และสินนุราช เนื้อนิทานใน ๑๒ คำบท
         อาจมีแตกต่างแต่ไม่ได้คลาดเคลื่อนไปจากนี้ การแสดงจะเริ่มจาก
         บทใดบทหนึ่งไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเล่นให้ครบทั้ง ๑๒ คำบทละคร
             เมื่อจับบท  ๑๒  กำพรัด  ๑๒  คำบทจบลง  ทางเจ้าภาพ        หลังจากจบสิ้นพิธีกรรมคล้องหงส์  โนราสมปองผู้ชำนาญ
         ซึ่งเป็นประธานชมรม ได้นำโนราปัญญาตลอดจนโนราใหญ่ที่ร่วม   ในวิชาโนรา  ได้สมมติตนเป็นนายไกรทอง นำคณะโนราออกแทงเข้
         แต่งพอก ขึ้นไปถอดพอก หรือ “บัดพอก” ที่หน้าหิ้งครู ก่อนจะ   โดยชี้ปลายหอกไปยังจระเข้  ก่อนที่คร่อมเข้าทางหางจระเข้
          อวยพรให้เป็นสิริมงคลแก่เจ้าภาพ การแต่งพอกของโนรา เปรียบ   แล้วแทงประหารจระเข้เสียจนวางวาย  ก่อนจะถีบให้จระเข้นอน
          ได้กับการทรงเครื่องใหญ่เพื่อจะเดินทางของโนรา  อันมีลูกพอง    หงายท้อง  เสร็จแล้วโนราปัญญาได้นำคณะปลงบทอนิจจัง
          ที่ทำจากผ้าเช็ดหน้า  หุ้มเทียน  ๑  หมากพลู  ๑  เงิน  ๙  บาท   บทกรวดน้ำ และแผ่เมตตาให้กับสิ่งไม่ดีที่ได้ปราบลงไปอย่าได้เป็น
         ทำจำนวนอย่างล่ะ ๒ พร้อมด้วยผ้าโอบพอก และผ้าหน้างวงช้าง   โทษเป็นภัยแก่กัน
         ซึ่งแทนคติว่าโนราใหญ่ สมมติตนเป็นพระยาทั้ง ๑๒ หัวช้าง ๑๓       ในช่วงสุดท้ายของพิธีกรรมโนราโรงครู  โนราสมปอง ได้ทำการ
          หัวเชือกสำคัญของโนรา  ได้นำข้าวนำของ  ความเป็นสิริมงคล   “ชาตายาย”  ด้วยการนำพานมารับเงินที่ลูกหลาน  ทำบุญให้
         สมบูรณ์พูลผลมาแก่เจ้าภาพและผู้ร่วมพิธี               ครูหมอโนรา มาป่าวประกาศแก่ครูหมอโนราให้ อวยพรแก่เจ้าภาพ
             ตามขนบโนราโรงครู  จะเล่น  ๓  วัน  ๒  คืน  เข้าวันพุธ    เสร็จแล้ว  โนราเหมีย  บ้านทะเลน้อย  ได้จับบทนางลาโรง
          ออกวันศุกร์  แต่ถ้าหากสัปดาห์ไหน  มีวันพระในช่วงที่ทำพิธี    บทนางนกกระจอก  เพื่อเป็นการส่งครู  ส่งเทวดากลับวิมาน
          จะมีการเลื่อนวันเพิ่มอีก ๑ วัน ดังนั้น การทำโนราโรงครูขอทำ   แล้วส่งภูติผีวิญญาณตายายโนราในคติความเชื่อกลับไปสู่ปรภพเสีย
          เทริดในคราวนี้ วันศุกร์ตรงกับวันพระพอดี  แต่ทางโนราก็มิได้   เสร็จแล้วก็ยกข้าวของลงจากพาไล ทำการเลิกโรง เบิกจากสามตับ
          หยุดการแสดง ได้ซักซ้อมดนตรี การออกรำอย่างโบราณ เพื่อเป็นการ   เพื่อส่งครูหมอตายายกลับสู่ปรภพ ก่อนที่จะคว่ำสาดคล้า เป็นการ
          สมโภชน์แก่พิธี และอนุรักษ์ขนบดนตรี การรำทำบทอย่างโนราโ  ตัดพันธะอย่าให้ครูหมอโนราติดค้างสิ่งใดๆ ในพิธีกรรมอีก
          บราณให้ผู้คนได้ชม ซึ่งได้รับกระแสตอบรับดีพอสมควร        จะเห็นได้ว่า พิธีกรรมโนราโรงครู ขอทำเทริด ที่ทางชมรมรักษ์
             ในวันสุดท้ายของโนราโรงครูขอทำเทริด  หลังจากถวาย   วัฒนธรรมอาณาจักรศรีวิชัยทำขึ้นในคราวนี้  ได้สมบูรณ์เพียบพร้อม
          สังเวยแก่ครูหมอตายายเป็นมื้อสุดท้ายแล้ว โนราสมปอง, โนราปัญญา   ไปตามคติโนราที่มีมาแต่โบราณ  ซึ่งเป็นหลักการที่ทางชมรมฯ
          และ โนราเหมีย ตลอดจนชาวคณะ ได้ร่วมกันจับบท “แทงเข้”   ยึดถือตลอดมา  ให้เป็นไปตามขนบโบราณ  โดยไม่ละเลยส่วนที่เป็น
          โดยเอานิทานเรื่องไกรทอง  มาเป็นละครในการดำเนินพิธี  “การแทงเข้”   องค์ประกอบ เพื่อเป็นการอนุรักษ์และแสดงความครบถ้วนให้แก่
          คือการปราบอุบาทว์จัญไร อวมงคลทั้งหลายให้สิ้นไป โดยใช้   ชนรุ่นหลังได้ประสบพบเจอ  จะเป็นผลสืบเนื่องไปสู่การสืบสาน
          จระเข้แทนสิ่งไม่ดี ซึ่งมีรากของพิธีกรรมมาจากประวัติโนรา ตอนที่   สืบทอดการแสดงโนราโรงครู ให้เป็นที่ถูกต้องตามที่ครูหมอโนรา
          เสนาอมาตย์เชิญพระนางนวลทองสำลีกลับเมือง  แต่เพราะมี   ผู้ก่อตั้งวิชาท่านได้ตั้งความมุ่งหมายเอาไว้
          จระเข้ตัวใหญ่มาขวางขบวนเรือ  จึงมีลูกเรือลงไปแทงเข้  เป็นคติ      “ให้โนราเป็นสัปปบุรุษผู้สอนธรรมะและมอบความสุข
          ในการปราบเภทภัยให้หมดสิ้นไป  โดยใช้นิทานเรื่องไกรทอง   แก่ชาวประชา”
          ในการประกอบพิธีกรรม มีการลับหอก ทำขวัญ ทำแพ สำหรับ       การขอทำเทริดคราวนี้ จะเป็นประวัติการณ์หน้าใหม่ใน
          ปราบชาละวัน แต่ก่อนจะถึงการแทงเข้ ต้องมีการ “คล้องหงส์”    วงการวัฒนธรรมภาคใต้  ที่เป้นการรื้อคืนรากเหง้าของชาวทะเลใต้
          เสียก่อน การคล้องหงส์ในธรรมเนียมโนรา ได้มีที่มาจากการเชิญ   ที่มีการสืบสายเลือดนาฎยธรรมะมาอย่างยาวนาน และอยู่คู่สังคม
          พระนางนวลทองสำลี  ตลอดจนบริวารพระกำนัล  ที่เรียกกันว่า   ชาวปักษ์ใต้มาทุกยุคทุคสมัย
         “แม่ทาสี”  กลับเข้าพระราชวัง  แต่เพราะพระนางนวลทองสำลี
         ปฎิเสธ  จึงทำให้เสนาอมาตย์  หรือ  “นายพราน”  ต้องนำเอา
          อาญาสิทธิ์ หรือ “เชือกคล้องหงส์” มาจับพระนางนวลทองสำลี
          ตลอดจนนางกำนัลนิวัติกลับเมืองบางแก้ว  โดยขนบโนรา  ถ่ายทอด
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16