Page 37 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 37
32
ตะวันออกกลาง ระหวางอิหรานและสหรัฐ โดยอิหรานประกาศวาจะใชน้ํามันเปนอาวุธ
เพื่อตอบโตมาตรการคว่ําบาตรของสหรัฐ และในป 2551 ไดมีการเผชิญหนากันระหวาง ทหาร
อิหรานและทหารสหรัฐ ในบริเวณชองแคบฮอรมุซ ซึ่งเปนทางผานสําคัญสําหรับการขนสง
น้ํามันจากตะวันออกกลาง
พายุเฮอรริเคนในแถบอาวเม็กซิโก ในเดือนกันยายน2548 มีผลกระทบตอแทนผลิต
น้ํามันของเม็กซิโก และโรงกลั่นที่ตั้งอยูตอนใตของสหรัฐ มีผลใหราคาน้ํามันเบนซินในสหรัฐ
เพิ่มสูงขึ้น เปน$3 ตอแกลลอน ซึ่งเปนระดับที่สูงสุดในรอบ25ป
ผูกอการรายในไนจีเรียคุกคามแหลงผลิตน้ํามันหลายครั้ง ทําใหประมาณการผลิตและ
สงออกน้ํามันจากไนจีเรีย ลดลงประมาณ 500,000 บารเรลตอวัน ความขัดแยงทางการเมือง
ระหวางรัฐบาลเวเนซุเอลาและรัฐบาลสหรัฐ ทําใหการนําเขาน้ํามันจากเวเนซุเอลาของสหรัฐมี
ความเสี่ยงมากขึ้น
4. ในหลายประเทศที่สงออกน้ํามันได มีการผลิตน้ํามันในปริมาณที่ลดลงไป เพราะ
ปริมาณสํารองเริ่มมีขอจํากัดมากขึ้น ในขณะเดียวกันความตองการใชน้ํามันในประเทศเหลานี้
ก็เพิ่มขึ้น ตามการขยายตัวของประชากรและเศรษฐกิจดวย ทําใหหลายประเทศตองลดการ
สงออกลง เชนอินโดนีเซียเม็กซิโกนอรเวย และอังกฤษ ในระหวางป 2005 ถึง 2006
การบริโภคน้ํามันภายในประเทศผูสงออก 5 อันดับแรก คือ ซาอุดิอาระเบีย รัสเซีย นอรเวย
อิหราน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส ไดเพิ่มสูงขึ้นถึงรอยละ 5.9 และมีปริมาณการสงออกลด
ลงกวา รอยละ 3 เมื่อเทียบกับปกอนหนานี้ หรือในกรณีของอินโดนีเซียที่รัฐบาลมีการอุดหนุน
ผูบริโภคภายในประเทศ และกรณีของซาอุดิอาระเบียที่ราคาน้ํามันเบนซินในประเทศอยูที่ 5
บาทตอลิตร ขณะที่มาเลเซียอยูในระดับ 20 บาทตอลิตร จึงทําใหเกิดการคาดการณวา
ปริมาณการสงออกน้ํามันดิบของประเทศผูสงออกน้ํามันจะลดลงถึง 2.5 ลานบารเรลตอวัน
ภายในชวง 10 ปนี้ เมื่อไมกี่เดือนมานี้ขาววารัฐบาลอินโดนีเซียกําลังพิจารณาจะถอนตัวจาก
การเปนสมาชิก OPEC เพราะอินโดนีเซียจะไมสามารถสงออกน้ํามันไดอีกตอไป ในอนาคตอัน
ใกลนี้
5. นอกจากกําลังการผลิตสวนเกินของน้ํามันดิบจะมีนอย กําลังการกลั่นน้ํามันของโลก
ก็มี ปญหาคอขวดโดยมีสวนเกินนอยกวา 1 ลานบารเรลตอวัน ในขณะเดียวกันตลาดน้ํามันมี
แนวโนม ตองการใชน้ํามันชนิดเบาและสะอาดมากขึ้น จึงสรางแรงกดดันใหโรงกลั่นน้ํามัน
ตองลงทุนปรับปรุงคุณภาพอีกดวยขอจํากัดนี้ จึงทําใหราคาผลิตภัณฑน้ํามันมีราคาสูงขึ้น