Page 39 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 39

34




                  จนถึง พ.ศ.2490  และมีผลเพียง   เล็กนอยตอการลดอุณหภูมิ  หลังจากป 2490 เปนตนมา

                  ขอสรุปพื้นฐานดังกลาวนี้ไดรับการรับรองโดยสมาคม และสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร
                  ไมนอยกวา  30  แหง  รวมทั้งราชสมาคมทาง  วิทยาศาสตรระดับชาติ  ที่สําคัญของประเทศ


                  อุตสาหกรรมตางๆ  แมนักวิทยาศาสตรบางคนจะมีความเห็นโตแยงกับขอสรุป ของ IPCC
                         [4]
                  อยูบาง  แตเสียงสวนใหญของนักวิทยาศาสตรที่ทํางานดานการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ
                  ของโลกโดยตรงเห็นดวยกับขอสรุปนี้ แบบจําลองการคาดคะเนภูมิอากาศบงชี้วาอุณหภูมิโลก

                  โดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1ถึง6.4 องศาเซลเซียส  ในชวง  คริสตศตวรรษที่ 21 (พ.ศ.2544

                  –2643)  คาตัวเลขดังกลาวไดมาจากการจําลองสถานการณแบบตางๆของการแผขยายแกส

                  เรือนกระจกในอนาคต  รวมถึงการจําลองคาความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบแตความ

                  รอนจะยังคงเพิ่มขึ้น และระดับน้ําทะเลก็จะสูงขึ้นตอเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แมวาระดับ

                  ของแกสเรือนกระจกจะเขาสูภาวะเสถียรแลวก็ตามการที่อุณหภูมิและระดับน้ําทะเลเขาสู

                  สภาวะดุลยภาพไดชา  เปนเหตุมาจากความจุความรอนของน้ําในมหาสมุทร  ซึ่งมีคาสูงมากการ

                  ที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทําใหระดับน้ําทะเลสูงขึ้น และคาดวาทําใหเกิดภาวะลมฟาอากาศ

                  ที่รุนแรงมากขึ้นปริมาณ และรูปแบบการเกิดหยาดน้ําฟาจะเปลี่ยนแปลงไป  ผลกระทบอื่นๆ

                  ของปรากฏการณโลกรอน ไดแก การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตรการเคลื่อนถอยของ

                  ธารน้ําแข็ง  การ  สูญพันธุพืช-สัตวตางๆ  รวมทั้งการกลายพันธุ และแพรขยายโรคตาง ๆ

                  เพิ่มมากขึ้น  รัฐบาลของประเทศตาง ๆ แทบทุกประเทศ ไดลงนามและใหสัตยาบันในพิธีสาร

                  เกียวโต  ซึ่งมุงประเด็นไปที่การลดการปลอยแกสเรือนกระจก แตยังคงมีการโตเถียงกันทาง

                  การเมืองและการโตวาทีสาธารณะไปทั่ว  ทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการวาควรเปนอยางไรจึงจะลด

                  หรือยอนกลับความรอนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคตหรือจะปรับตัวกันอยางไรตอผลกระทบของ

                  ปรากฏการณโลกรอนที่คาดวาจะตองเกิดขึ้น
                         พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มีพระราชดํารัสเกี่ยวกับปรากฏการณเรือนกระจก


                  ที่ศาลาดุสิดาลัยอยางลึกซึ้ง  กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  จึงไดรับสนองกระแส
                  พระราชดํารัสนําเขาประชุมคณะรัฐมนตรี  จนกระทั่งทําใหวันที่ 4 ธันวาคมของทุกป  เปนวัน

                  สิ่งแวดลอมแหงชาติ  ตั้งแตป 2534  เปนตนมา

                         จากผลงานพระราชดําริ และการทรงลงมือปฏิบัติพัฒนาดวยพระองคเอง เกี่ยวกับ

                  สภาพแวดลอม  โดยเฉพาะอยางยิ่งปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีคุณประโยชนตอคนชนชาติ

                  ตาง ๆ ทั้งดานเศรษฐกิจสังคมความมั่นคงของมนุษย และการเมือง  ซึ่งเปนที่ประจักษไปทั่วโลก

                  องคการสหประชาชาติโดย  นายโคฟ   อันนัน  อดีตเลขาธิการองคการสหประชาชาติ  จึงได
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44