Page 42 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 42

37




                  (พ.ศ.2550–2554)เพื่อมุงสูการพัฒนาที่สมดุลยิ่งขึ้น และมีภูมิคุมกันเพื่อความอยูดีมีสุขมุงสู

                  สังคมที่มีความสุขอยางยั่งยืนดวยหลักการดังกลาว แผนพัฒนาฯ ฉบับที่  10 นี้ จะเนนเรื่อง
                  ตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แตยังใหความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ


                  หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกตางกัน ระหวางเศรษฐกิจชุมชน เมือง และชนบท
                  แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เชน รัฐธรรมนูญแหง

                  ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  ในสวนที่ 3 แนวนโยบาย ดานการบริหารราชการ

                  แผนดิน มาตรา78  (1) บริหารราชการแผนดินใหเปนไป เพื่อการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจและ

                  ความมั่นคงของประเทศอยางยั่งยืน  โดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจ

                  พอเพียง และคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ

                         นายสุรเกียรติ  เสถียรไทย  ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศไดกลาว เมื่อวัน

                  ที่    24 พฤศจิกายน พ.ศ.  2547    ในการประชุมสุดยอดTheFrancophonicOuagadougou

                  ครั้งที่ 10ที่ Burkina Faso  วาประเทศไทยไดยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงควบคูกับ

                  “การพัฒนาแบบยั่งยืน”ในการพิจารณาประเทศ ทั้งทางดานการเกษตรกรรมเศรษฐกิจและการ

                  แขงขัน  ซึ่งเปนการสอดคลองกับแนวทางของนานาชาติในประชาคมโลก

                         การประยุกตนําหลักปรัชญา เพื่อนํามาพัฒนาประเทศในตางประเทศนั้น  ประเทศไทย

                  ไดเปนศูนยกลางการแลกเปลี่ยนผานทางสํานักงานความรวมมือ  เพื่อการพัฒนาระหวาง

                  ประเทศ (สพร.)  โดย สพร.มีหนาที่คอยประสานงานรับความชวยเหลือทางวิชาการดานตาง ๆ

                  จากตางประเทศมาสูภาครัฐแลวถายทอดตอไปยังภาคประชาชน และยังสงผานความรูที่มีไปยัง

                  ประเทศกําลังพัฒนาอื่นๆเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น  สพร.ถายทอดมาไมต่ํากวา 5 ป

                  ประสานกับสํานักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราช

                  ดําริ (กปร.) และคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งตางชาติก็สนใจเรื่อง
                  เศรษฐกิจพอเพียง  เพราะพิสูจนแลววาเปนสิ่งที่ดีและมีประโยชน ซึ่งแตละประเทศมีความตอง


                  การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไมเหมือนกัน  ขึ้นอยูกับวิถีชีวิตสภาพภูมิศาสตร ฯลฯ
                  เชน พมา  ศรีลังกา  เลโซโท ซูดาน  อัฟกานิสถานบังกลาเทศ  ภูฎาน  จีน จิบูดี  โคลัมเบีย

                  อียิปต เอธิโอเปย แกมเบีย  อินโดนิเซีย เคนยา เกาหลีใต มาดากัสการ  มัลดีฟส ปาปวนิวกินี

                  แทนซาเนีย  เวียดนาม ฯลฯ  โดยไดใหประเทศเหลานี้ไดมาดูงานในหลายระดับ  ทั้งเจาหนาที่

                  ปฏิบัติงาน  เจาหนาที่ฝายนโยบาย  จนถึงระดับปลัดกระทรวงรัฐมนตรีกระทรวงตางๆ   [14]
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47