Page 47 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 47

42




                         ซึ่งแนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียงนี้ไดมีผูนําไปใชจนประสบความสําเร็จอยางมากมาย

                  ในสังคมไทยที่ขาพเจาเคยไดยินชื่อเสียงก็มีหลายทาน แตทานหนึ่งซึ่งขาพเจาอยากนําเสนอ
                  เรื่องราวของทาน ณ โอกาสนี้ คือ ผูใหญวิบูลย เข็มเฉลิม เกษตรกรผูริเริ่มการทําวนเกษตร


                  ซึ่งยึดหลักเศรษฐกิจแบบพอเพียงจนสามารถยืนหยัดอยางเขมแข็งบนโลกทุนนิยมไดอยางสม
                  ภาคภูมิ เนื่องดวยเมื่อไมนานมานี้ขาพเจามีโอกาสเดินทางไปเยี่ยมชมวนเกษตรของทาน

                  ซึ่งประกอบสัมมาชีพโดยใชการพึ่งตนเองเปนหลักเปนประสบการณตรงที่ขาพเจาไดมีโอกาสได

                  ไปพบปะพูดคุยกับบุคคลคุณภาพอยางทาน ซึ่งทานไดแลกเปลี่ยนแนวความคิดดี ๆ หลายอยาง

                  ที่ฟงแลวรูสึกวาดีมีเหตุผล และอยากนําไปประยุกตใชกับตัวเอง



                         ผูใหญวิบูลย เข็มเฉลิม เปนผูใหญบาน บานหวยหิน ต.ลาดกระทิง อ.สนามชัยเขต

                  จ.ฉะเชิงเทรา อาชีพเดิมของทานคือเปนนายหนาและพอคาคนกลาง กูเงินจากพอคาและ

                  ธนาคารมาใหชาวไรชาวนากู ตอมาตัดสินใจเปนเกษตรกรเต็มขั้นโดยเปนผูนํากลุมเกษตรกร

                  ในพื้นที่ ทานเปนผูมีประสบการณโชกโชนในเรื่องการเกษตรแผนใหม มีพื้นที่ทําการเกษตรมาก

                  ถึง 200 ไร โดยเนนปลูกพืชเศรษฐกิจ เชน มันสําปะหลังและฝาย ซึ่งชวงแรก ๆ ก็ประสบ

                  ความสําเร็จเปนที่นาพอใจ แตตอมาตองเผชิญกับภาวะตนทุนสูงและราคาผลผลิตตกต่ําก็กลาย

                  เปนคนมีหนี้สินไมแตกตางจากเพื่อนเกษตรกรจํานวนมาก จึงไดพยายามหาทางเอาชนะปญหา

                  ดวยวิธีการตาง ๆ เชน ขยายพื้นที่ทําไรออกไป หรือรวมกลุมเกษตรกร เพื่อเรียกรองใหมีการ

                  ประกันราคา แตก็ไมพบทางออกที่ดี จนในที่สุดทานก็หาขอสรุปไดวา การทําเกษตรแนบนี้

                  “ยิ่งทํามาก ยิ่งมีหนี้มาก”ทานจึงทบทวนวิธีทํามาหากินใหมทั้งหมด ในที่สุดก็พบความจริงวา

                  “การผลิตเพื่อมุงทํากินเองใชเอง ทําใหคนในอดีตพึ่งพาตนเองไดโดยไมตองเอาชีวิตผูกติดกับ

                  ระบบตลาด” ดวยความคิดเชนนี้ ผูใหญวิบูลยจึงตัดสินใจหันเหชีวิตออกจากการผลิตเพื่อหา
                  รายไดและปรับเปลี่ยนเปนการผลิตเพื่อ “ลดรายจาย” เพื่อการพึ่งพาตนเองในปจจัยสี่ และ


                  สรางหลักประกันชีวิตในระยะยาว
                         ป พ.ศ. 2525 เปนจุดเริ่มตนของการแสวงหาทางเลือกใหม ผูใหญวิบูลยตัดสินใจขาย

                  ที่ดินประมาณ 200 ไรที่มี เพื่อปลดหนี้สินใหหมดไป เหลือไวเพื่อเปนอยูอาศัยและทํากินเพียง

                  9 ไรเศษ ทานเริ่มตนชีวิตใหมตามหลักการของวนเกษตรโดยมีแนวทางปฏิบัติคือ ในชวงแรกเรง

                  ปลูกพืชอาหารอายุสั้นที่เปนที่ตองการของตลาด เชน ขาวโพด ถั่ว แตงกวา มะระ โดยใช

                  แรงงานตนเองและครอบครัวเปนหลัก ผลผลิตที่เหลือจากการบริโภคในครอบครัวเอาไปขาย

                  เพื่อนําเงินไปซื้อสิ่งจําเปนอื่น ๆ ทําไปไดสักระยะจึงคนพบวา ถาปลูกพืชกินไดไวมากเทาไหร
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52