Page 50 - หนังสือเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย
P. 50

45




                  ความสําเร็จในชีวิตอยางแทจริงนั้นไมไดวัดกันที่จํานวนเงินในกระเปา หรือตําแหนงหนาที่การ

                  งานสูง ๆ แตดูไดจากการบริหารจัดการหลักสําคัญ 3 อยางไดอยางสมดุล นั่นคือ
                         1.  มีเงิน มีรายไดเพียงพอเลี้ยงครอบครัว เพื่อใหตนเองและครอบครัวมีคุณภาพชีวิตที่ดี


                  โดยไมจําเปนตองดิ้นรนแสวงหาเงินทองเพื่อความร่ํารวย ผูที่มีเงินทองมากมายแตไมมีเวลาหา
                  ความสุขใหกับชีวิต เงินที่มีอยูก็ไมมีประโยชนอะไร

                         2.  มีเวลาใหกับตนเองและครอบครัว เพื่อสรางสายสัมพันธอันดีระหวางกัน

                  เมื่อครอบครัวเขมแข็ง ยอมสงผลตอความแข็งแกรงของสังคมตามไปดวย ตนทุนเวลาเปนสิ่งที่

                  สําคัญที่เราทุกคนไมควรมองขาม เพราะเวลาที่ผานไปแลว เราไมสามารถเรียกกลับคืนมาได

                  และเปนตนทุนที่มีอยูจํากัดและถดถอยไปเรื่อย ๆ

                         3.  มีสุขภาพที่ดี สุขภาพเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดในชีวิตของคนเรา เพราะเปนตนทุนที่

                  นําไปใชแลกเปลี่ยนสิ่งจําเปนอื่นๆ ในชีวิต ในวัยหนุมสาวคนเรามักใชความมีสุขภาพดีไปแลกกับ

                  การทํางานเพื่อใหมีเงินมีรายไดมาก ๆ โดยลืมคํานึงถึงสุขภาพที่สูญเสียไป สุขภาพที่ดียอมนํา

                  ความสุขมาสูผูเปนเจาของ หากเมื่อไรตัวเรา มีปญหาสุขภาพ ความสุขที่มีอยูก็คงมลายไปเพราะ

                  คุณภาพชีวิตที่ดีหมายรวมถึงการมีสุขภาพกายและจิตที่แข็งแรงดวย

                         ดังนั้นสังคมนี้จะสงบสุขไดตองเกิดจากแนวความคิดที่เขาใจชีวิตของคนในสังคมดวย

                  แตนอยคนนักที่จะเขาใจแกนของความสําเร็จอยางแทจริงนี้ ตัวขาพเจาโชคดีที่ความรูและ

                  ประสบการณจากผูอื่นเปนครูที่ทําใหเราไดแนวทางที่ดี โดยไมจําเปนตองเสียเวลาลองผิดลองถูก

                  ดวยตนเอง อยางไรก็ตามเราตองเขาใจตนเองกอนวาวิถีชีวิตแบบไหนที่เหมาะกับตัวเราและ

                  ประยุกตความรูเหลานี้ใหเขากับวิถีชีวิตแบบที่เราตองการ รากฐานของเศรษฐกิจพอเพียงที่

                  ขาพเจาไดศึกษา เปรียบไดกับรากแกวของตนไมที่คอยพยุงลําตนใหแข็งแรงเพื่อแตก

                  กิ่งกานสาขา ทําใหชีวิตทุกยางกาวของขาพเจามีความเชื่อมั่น และมีเปาหมายที่ชัดเจนวาจะทํา
                  อะไร เพื่อสรางหลักประกันที่มั่นคงไมเพียงแตใหกับตัวเองเทานั้น และเปนการสรางรากฐาน


                  ทางความคิดเพื่อคนรุนหลังไดสืบทอดเจตนารมณเหลานี้ตอไป ดังพระมหากรุณาธิคุณของ
                  พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงเห็นวาการดํารงชีวิตอยางพอเพียงจะเปนวิถีทางที่จะสราง

                  ประโยชนสุขแกประชาขนชาวไทยจึงสงเสริมแนวความคิดนี้เรื่อยมา ทรงทุมเทโดยไมเห็นแก

                  ความเหนื่อยยากเพื่อใหสมดังพระราชปณิธานวา

                  “เราจะครองแผนดินโดยธรรมเพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม”(อรทัย  พววงแกว.”

                  พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตัวอยางเศรษฐกิจพอเพียงที่ขารูจัก,2550.)
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55